การบริหารงานในหน้าที่ของพนักงานกสิกรรมและพนักงานข้าวจังหวัดและอำเภอ
Publisher
Issued Date
1967
Issued Date (B.E.)
2510
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
229 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ผสม เพชรจำรัส (1967). การบริหารงานในหน้าที่ของพนักงานกสิกรรมและพนักงานข้าวจังหวัดและอำเภอ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1030.
Title
การบริหารงานในหน้าที่ของพนักงานกสิกรรมและพนักงานข้าวจังหวัดและอำเภอ
Alternative Title(s)
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มุ่งชี้ให้เห็นปัญหาสถานการณ์และข้อขัดข้องต่าง ๆ ด้านการส่งเสริมการเกษตรซึ่งจะช่วยให้รัฐบาลและนักบริหารงานส่งเสริมการเกษตรในระดับสูงได้ทราบถึงข้อมูลและปัญหาต่าง ๆ ทางการบริหารทั้งทางด้านเกษตรกรและด้านการบริหารงานของรัฐบาลอันเป็นกลไกที่จะช่วยให้การบริหารงานพัฒนาการเกษตรในโครงการพัฒนาการเศรษฐกิจของชาติว่าสามารถประสบผลสำเร็จเพียงใดหรือไม่ และถ้ามีปัญหาข้อขัดข้องต่าง ๆ ก็จะแก้ไขได้โดยวิธีใดบ้าง.
จากผลการศึกษาปรากฏว่าการบริหารงานในหน้าที่ของพนักงานส่งเสริมการเกษตรนั้นประสบปัญหาต่าง ๆ คือ
1. ปัญหาในการวางแผน กล่าวคือ การวางแผนหลักและกำหนดการให้สอดคล้องกับแผนซึ่งจะพัฒนาการบริหารงานส่งเสริม กำหนดการต่าง ๆ ของการบริหารงานส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทยนั้นต่างกรมต่างกำหนดขึ้น ไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน นอกจากนี้ยังไม่มีความแน่นอนในนโยบายและแผน
2. ปัญหาการปฏิบัติตามแผน เนื่องจากมีมูลเหตุอันเป็นอุปสรรคทำให้ไม่อาจปฏิบัติงานตามแผนได้ มูลเหตุเหล่านั้นได้แก่ การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานไม่เหมาะสม หน้าที่และความรับผิดชอบมีลักษณะซ้อนกัน ขาดการประสานงานที่ดี และขาดแคลนปัจจัยที่ใช้ในการบริหารงานส่งเสริม
3. ขาดการติดตามผลงาน ทำให้ไม่ทราบสถานการณ์และปัญหาที่แท้จริงซึ่งเกิดขึ้นแก่การปฏิบัติงานของนักส่งเสริม
ปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นนี้ผู้เขียนได้ให้ข้อเสนอแนะ คือ .-
1. ให้มีการปรับปรุงเกี่ยวกับปัจจัยและจักรกลในการบริหาร ในด้านกำลังคน งบประมาณ อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้สำหรับการบริหารให้เพียงพอกับความต้องการ.
2. ให้ปรับปรุงแก้ไขส่วนราชการที่มีหน้าที่ด้านบริการส่งเสริม
3. ให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ปรับปรุงหลักสูตรโดยพิจารณาจากความต้องการด้านตลาดที่จะรับผู้สำเร็จจากการศึกษา ว่าตลาดกำลังต้องการนักวิชาการประเภทใด จำนวนเท่าไร โดยจัดหน่วยประสานงานกับส่วนราชการต่าง ๆ และด้านธุรกิจเอกชนเพื่อช่วยให้การบริหารงานของมหาวิทยาลัยมีผลสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ
จากผลการศึกษาปรากฏว่าการบริหารงานในหน้าที่ของพนักงานส่งเสริมการเกษตรนั้นประสบปัญหาต่าง ๆ คือ
1. ปัญหาในการวางแผน กล่าวคือ การวางแผนหลักและกำหนดการให้สอดคล้องกับแผนซึ่งจะพัฒนาการบริหารงานส่งเสริม กำหนดการต่าง ๆ ของการบริหารงานส่งเสริมการเกษตรของประเทศไทยนั้นต่างกรมต่างกำหนดขึ้น ไม่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน นอกจากนี้ยังไม่มีความแน่นอนในนโยบายและแผน
2. ปัญหาการปฏิบัติตามแผน เนื่องจากมีมูลเหตุอันเป็นอุปสรรคทำให้ไม่อาจปฏิบัติงานตามแผนได้ มูลเหตุเหล่านั้นได้แก่ การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบของหน่วยงานไม่เหมาะสม หน้าที่และความรับผิดชอบมีลักษณะซ้อนกัน ขาดการประสานงานที่ดี และขาดแคลนปัจจัยที่ใช้ในการบริหารงานส่งเสริม
3. ขาดการติดตามผลงาน ทำให้ไม่ทราบสถานการณ์และปัญหาที่แท้จริงซึ่งเกิดขึ้นแก่การปฏิบัติงานของนักส่งเสริม
ปัญหาต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นนี้ผู้เขียนได้ให้ข้อเสนอแนะ คือ .-
1. ให้มีการปรับปรุงเกี่ยวกับปัจจัยและจักรกลในการบริหาร ในด้านกำลังคน งบประมาณ อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้สำหรับการบริหารให้เพียงพอกับความต้องการ.
2. ให้ปรับปรุงแก้ไขส่วนราชการที่มีหน้าที่ด้านบริการส่งเสริม
3. ให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ปรับปรุงหลักสูตรโดยพิจารณาจากความต้องการด้านตลาดที่จะรับผู้สำเร็จจากการศึกษา ว่าตลาดกำลังต้องการนักวิชาการประเภทใด จำนวนเท่าไร โดยจัดหน่วยประสานงานกับส่วนราชการต่าง ๆ และด้านธุรกิจเอกชนเพื่อช่วยให้การบริหารงานของมหาวิทยาลัยมีผลสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2510.