• English
    • ไทย
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
  • เข้าสู่ระบบ
ดูรายการข้อมูล 
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
  •   หน้าแรกของ คลังปัญญา
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • ดูรายการข้อมูล
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

เรียกดูข้อมูล

ข้อมูลทั้งหมดของ คลังปัญญาชุมชน & กลุ่มข้อมูลวันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากรกลุ่มข้อมูลนี้วันที่เผยแพร่ผู้แต่งชื่อเรื่องหัวเรื่องวันที่เพิ่มข้อมูลประเภททรัพยากร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบลงทะเบียน

การวิจัยทางสังคมศาสตร์ต่างวัฒนธรรม : ศึกษาวิเคราะห์จากการวิจัยของคณะวิจัยชาวต่างประเทศที่มีนักวิจัยไทยเป็นผู้ช่วย

by ธวัช วิชัยดิษฐ

ชื่อเรื่อง:

การวิจัยทางสังคมศาสตร์ต่างวัฒนธรรม : ศึกษาวิเคราะห์จากการวิจัยของคณะวิจัยชาวต่างประเทศที่มีนักวิจัยไทยเป็นผู้ช่วย

ผู้แต่ง:

ธวัช วิชัยดิษฐ

ผู้ควบคุมงานวิจัย:

อมร รักษาสัตย์, อาจารย์ที่ปรึกษา

ชื่อปริญญา:

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต

ระดับปริญญา:

ปริญญาโท

สาขาวิชา:

รัฐประศาสนศาสตร์

คณะ/หน่วยงาน:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์

หน่วยงานที่ประสาทปริญญา:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

วันที่เผยแพร่:

2510

หน่วยงานที่เผยแพร่:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

บทคัดย่อ/เนื้อเรื่องย่อ:

วัตถุประสงค์ของวิทยานิพนธ์ เพื่อสำรวจดูว่าเทคนิคในการวิจัยของชาติตะวันตกอันเป็นวิธีการที่ทันสมัยนั้นจะสามารถนำมาใช้ในสังคมไทยที่มีสภาพสังคมและวัฒนธรรมแตกต่างไปจากชาติตะวันตกได้มากน้อยหรือไม่ เพียงใด จากผลการศึกษาปรากฏว่าการวิจัยของนักวิจัยชาวต่างประเทศที่มีนักวิจัยไทยเป็นผู้ช่วย ก่อให้เกิดปัญหาต่าง ๆ ในการดำเนินงานได้มาก ทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับระเบียบวิธีการวิจัยโดยตรง และในส่วนที่เกี่ยวกับความแตกต่างกันในด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี พฤติกรรมของสังคม และภาษา ฉะนั้นความสำเร็จของงานวิจัยสภาพทางสังคมศาสตร์ด้านวัฒนธรรม ย่อมขึ้นอยู่กับความรอบรู้ทางด้านระเบียบวิธีการวิจัยของนักวิจัยผู้ช่วยซึ่งเป็นคนของท้องถิ่น ขึ้นอยู่กับการบอกเล่าที่ดีถึงโครงการวิจัยที่นักวิจัยกำลังดำเนินงานอยู่ ขึ้นอยู่กับการเตรียมตัวอย่างพร้อมเพรียงในทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของนักวิจัยแต่ละคน และขึ้นอยู่กับความถูกต้องของขบวนการแปลข้อมูลที่ได้รับจากภาษาของท้องถิ่นที่มีงานวิจัยไปเป็นภาษาของนักวิจัยหรือกลับกัน
ผู้เขียนได้เสนอแนะข้อแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เพื่อปรับปรุงสถานการณ์ให้ดีขึ้นหลายประการ และในตอนท้ายสุด ผู้เขียนสรุปว่า ผลสำเร็จของการทำวิจัยสังคมศาสตร์ต่างวัฒนธรรมนี้มิได้มีขึ้นด้วยการใช้ระเบียบวิธีการศึกษาทางด้านการวิจัยของชาติตะวันตกอย่างเดียว แต่ต้องขึ้นกับความสามารถ ความเฉลียวฉลาด และรอบรู้เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยของนักวิจัยผู้ช่วยซึ่งเป็นคนของท้องถิ่นนั้น ๆ โดยเฉพาะอีกด้วย.

รายละเอียดเพิ่มเติม:

วิทยานิพนธ์ (รป.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2510.

หัวเรื่องมาตรฐาน:

สังคมศาสตร์ -- วิจัย

คำสำคัญ:

นักวิจัย

ประเภททรัพยากร:

Thesis

ความยาว:

142 แผ่น

ชนิดของสื่อ:

Text

รูปแบบแฟ้มข้อมูล:

application/pdf

ภาษา:

tha

สิทธิในการใช้งาน:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สิทธิในการเข้าถึง:

สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเอกสารฉบับเต็มเฉพาะ นักศึกษา อาจารย์ และบุคลากร ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์เท่านั้น

ผู้ครอบครองสิทธิ์:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1089
แสดงระเบียนรายการแบบเต็ม

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (CONTENT)

Thumbnail
ดู
nida-ths-b6518.pdf ( 3,212.37 KB )

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้ (EXCERPT)

Thumbnail
ดู
nida-ths-b6518ab.pdf ( 109.93 KB )

This item appears in the following Collection(s)

  • GSPA: Theses [261]
Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center
Tel: (+662) 727-3737, (+622) 727-3743    Email: services@nida.ac.th
 

 

‹›×