สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาชนบท : การศึกษาเฉพาะกรณีโครงการพัฒนาชนบทลุ่มแม่น้ำแม่กลอง
Publisher
Issued Date
1978
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
108 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ชวลิต ปัญญาลักษณ์ (1978). สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาชนบท : การศึกษาเฉพาะกรณีโครงการพัฒนาชนบทลุ่มแม่น้ำแม่กลอง. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1185.
Title
สื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาชนบท : การศึกษาเฉพาะกรณีโครงการพัฒนาชนบทลุ่มแม่น้ำแม่กลอง
Alternative Title(s)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อทราบว่าบรรดาสื่อมวลชนที่พบในท้องถิ่นชนบทปัจจุบันมีบทบาทต่อการพัฒนาชนบทมากน้อยเพียงใด โดยศึกษาว่าสื่อมวลชนแต่ละประเภทมีเนื้อหาสาระอันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชนบทมากน้อยเพียงใด มีลักษณะการเข้าถึงชนบทมากน้อยเพียงใด และมีความสัมพันธ์ระหว่างการมีเนื้อหาสาระอันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชนบท และการมีลักษณะการเข้าถึงชาวชนบทอย่างไร โดยศึกษาสื่อมวลชน หนังสือพิมพ์ วิทยุ และภาพยนตร์กลางแปลง และจากการศึกษาผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะดังนี้
1. ควรมีการกำหนดนโยบายระดับชาติว่าด้วยแนวทางการส่งเสริมให้มีการใช้ประโยชน์จากระบบสื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาชนบท.
2. องค์กรรัฐบาลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการใช้ทรัพยากรทางสื่อสารมวลชนของชาติ ควรจะจัดโปรแกรมพิเศษขึ้นเพื่อการพัฒนาชนบทโดยเฉพาะ
3. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสื่อสารมวลชนภาคเอกชน ควรจะได้อุทิศเนื้อที่ และ/หรือ เวลาให้แก่ข่าวสารอันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชนบทให้มากกว่าที่เป็นอยู่ ในขณะเดียวกันก็ควรสร้างลักษณะการเข้าถึงชาวชนบทให้มากขึ้นด้วย.
4. นักวิชากาและผู้สนใจด้านสื่อสารมวลชน ควรจะหันความสนใจมาศึกษาค้นคว้าหาวิธีใหม่ ๆ ซึ่งเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นชนบท.
5. พัฒนากรและผู้นำในท้องถิ่นชนบทควรใช้ประโยชน์จากสื่อมวลชนในการกระตุ้นเร่งเร้าชาวชนบททั่วไปให้มากกว่าที่เป็นอยู่ โดยการผสมผสานกับวิธีการติดต่อสื่อสารแบบเดิมของตน
6. ควรมีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เช่น พัฒนากร ผู้นำในท้องถิ่น ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสื่อสารมวลชน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ทัศนคติ เกี่ยวกับเป้าหมาย และแนวทางดำเนินงานซึ่งกันและกัน.
1. ควรมีการกำหนดนโยบายระดับชาติว่าด้วยแนวทางการส่งเสริมให้มีการใช้ประโยชน์จากระบบสื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาชนบท.
2. องค์กรรัฐบาลซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการใช้ทรัพยากรทางสื่อสารมวลชนของชาติ ควรจะจัดโปรแกรมพิเศษขึ้นเพื่อการพัฒนาชนบทโดยเฉพาะ
3. ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสื่อสารมวลชนภาคเอกชน ควรจะได้อุทิศเนื้อที่ และ/หรือ เวลาให้แก่ข่าวสารอันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชนบทให้มากกว่าที่เป็นอยู่ ในขณะเดียวกันก็ควรสร้างลักษณะการเข้าถึงชาวชนบทให้มากขึ้นด้วย.
4. นักวิชากาและผู้สนใจด้านสื่อสารมวลชน ควรจะหันความสนใจมาศึกษาค้นคว้าหาวิธีใหม่ ๆ ซึ่งเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นชนบท.
5. พัฒนากรและผู้นำในท้องถิ่นชนบทควรใช้ประโยชน์จากสื่อมวลชนในการกระตุ้นเร่งเร้าชาวชนบททั่วไปให้มากกว่าที่เป็นอยู่ โดยการผสมผสานกับวิธีการติดต่อสื่อสารแบบเดิมของตน
6. ควรมีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้อง เช่น พัฒนากร ผู้นำในท้องถิ่น ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสื่อสารมวลชน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ ทัศนคติ เกี่ยวกับเป้าหมาย และแนวทางดำเนินงานซึ่งกันและกัน.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2521.