การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการประสานความร่วมมือพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด
Publisher
Issued Date
1994
Issued Date (B.E.)
2537
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
ก-ฉ, 143 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปฤษฎา บุญเจือ (1994). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการประสานความร่วมมือพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1731.
Title
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน : ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการประสานความร่วมมือพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด
Alternative Title(s)
People participation in community development : a case study of the Grass-Root Integrated Development Project (GRID), Roi-ed Province
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์ในการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาถึงระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน ศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคของการทำงานในรูปของการมีส่วนร่วมของประชาชน รวมทั้งการให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่องานพัฒนาชุมชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ สมาชิกในกลุ่มกิจกรรม 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมธนาคารข้าว กิจกรรมออมทรัพย์ และกิจกรรมกองทุนร้านค้า จำนวน 50 เปอร์เซนต์ของสมาชิกกลุ่มในแต่ละกลุ่มกิจกรรมในหมู่บ้านขนาดใหญ่ 2 หมู่บ้าน และหมู่บ้านขนาดเล็ก 2 หมู่บ้าน รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 465 คน ตัวแปรอิสระที่ศึกษาได้แก่ อายุ เพศ ระดับการศึกษา รายได้ของครัวเรือน จำนวนคนในครัวเรือน การเข้าเป็นสมาชิกกลุ่มกิจกรรมการพัฒนา การเป็นผู้นำชุมชน ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน และการคาดหวังผลตอบแทนในการเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ตัวแปรตามได้แก่ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์รายบุคคล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ และ Chi-square.
ผลการศึกษาพบว่า.
1. ประชาชนในโครงการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนในระดับปานกลาง.
2. เพศ รายได้ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน การเป็นสมาชิกกลุ่มกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ความเป็นผู้นำ และการคาดหวังผลตอบแทน มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
ผลการศึกษาพบว่า.
1. ประชาชนในโครงการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ จังหวัดร้อยเอ็ด มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนในระดับปานกลาง.
2. เพศ รายได้ ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน การเป็นสมาชิกกลุ่มกิจกรรมการพัฒนาชุมชน ความเป็นผู้นำ และการคาดหวังผลตอบแทน มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน
Table of contents
Description
Methodology: Chi square test
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (พัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2537.
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (พัฒนาสังคม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2537.