การศึกษาอัตราการแพร่กระจายก๊าซมีเทนในนาข้าวจากดัชนีพืชพรรณโดยประยุกต์ใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม LANDSAT-5 TM กรณีศึกษา อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา
Publisher
Issued Date
2011
Issued Date (B.E.)
2554
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
100 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b171623
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
คมกฤษณ์ คีรีรมย์ (2011). การศึกษาอัตราการแพร่กระจายก๊าซมีเทนในนาข้าวจากดัชนีพืชพรรณโดยประยุกต์ใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม LANDSAT-5 TM กรณีศึกษา อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2045.
Title
การศึกษาอัตราการแพร่กระจายก๊าซมีเทนในนาข้าวจากดัชนีพืชพรรณโดยประยุกต์ใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียม LANDSAT-5 TM กรณีศึกษา อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา
Alternative Title(s)
Estimating methane emission by using vegetation indices from LANDSAT-5 TM : a case study of Amphoe Bang Num Priao, Area, Chacheongsao Province
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อ1) เพื่อศึกษาค่าการสะท้อนพลังงานของค่าดัชนีพืช พรรณของข้าวตั้งแต่เริ่มปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวด้วยภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT-5 TM 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีพืชพรรณกับค่ามีเทนตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว และ 3) เพื่อประเมินอัตราการแพร่กระจายของก๊าซมีเทนจากดัชนีพืชพรรณ โดยประยุกต์ใช้ ภาพถ่ายดาวเทียม LANDSAT-5 TM ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 และข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องมาร่วมวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าค่าการสะท้อนพลังงานของดัชนีพืชพรรณต่างๆ ได้แก่ NDVI RVI SAVI MSAVI และ GNDVI ทุกค่าดัชนีพืชพรรณจะมีแนวโน้มค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตั้งแต่หลังจากเริ่มเพาะปลูก 16 วัน 32 วันและ 64 วัน จนกระทั่งมีค่าเฉลี่ยสูงสุดหลังจากเริ่มเพาะปลูก 80 วัน หลังจากนั้นจะ ลดลงเล็กน้อยหลังจากเริ่มเพาะปลูกไปแล้ว 112 วัน ส่วนความสัมพันธ์ของดัชนีพืชพรรณต่างๆ ได้แก่ NDVI RVI SAVI MSAVI และ GNDVI กับอัตราการแพร่กระจายของก๊าซมีเทนตามระยะการ เจริญเติบโตของข้าวมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งดัชนีพืชพรรณ GNDVI และ MSAVI สามารถน้ามาใช้ในการสร้างสมการเนื่องจากมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์กันสูงสุดเท่ากับ 0.823 และ 0.843โดยสมการพยากรณ์อัตราการแพร่กระจายก๊าซมีเทนจากดัชนีพืชพรรณ เขียนได้ดังนี้ Y = -480.01X2 + 422.38X – 19.3, R 2 = 0.70 เมื่อ Y = อัตราการแพร่กระจายก๊าซมีเทนของนาข้าว X = ค่าดัชนีพืชพรรณ GNDVI และ Y = -157.01X 2 + 247.68X – 14.629, R 2 = 0.71 เมื่อ Y = อัตราการแพร่กระจายก๊าซมีเทนของนาข้าว X = ค่าดัชนีพืชพรรณ MSAVI
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011