การจัดการเชิงกลยุทธ์ : ศึกษากรณี สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ (องค์การมหาชน)
Publisher
Issued Date
2013
Issued Date (B.E.)
2556
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
116 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
ba185734
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ไกรสิทธิ์ สิงห์ยะบุศย์ (2013). การจัดการเชิงกลยุทธ์ : ศึกษากรณี สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ (องค์การมหาชน). Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3305.
Title
การจัดการเชิงกลยุทธ์ : ศึกษากรณี สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติฯ (องค์การมหาชน)
Alternative Title(s)
Strategic management : a case study of the golden jubilee museum of agriculture office (Public Organization)
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
หัวใจสำคัญของการกระจายอำนาจคือ การสร้างประชาธิปไตยท้องถิ่น การบรรลุจุดมุ่งหมายของแนวคิดการกระจายอำนาจคือ การเปลี่ยนจากราษฎรเป็นพลเมือง หรือประชาชนผู้คอยแต่รับบริการจากภาครัฐมาเป็ นผู้ขับเคลื่อนกระบวนการเอง การศึกษาวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทาการศึกษาสภาพการแสดงออกถึงความเป็นพลเมืองของประชาชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไป และศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่เกื้อหนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อการแสดงออกความเป็นพลเมือง
การศึกษาครั้งนี้เป็ นการวิจัยเชิงผสมระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ (Mixed Method) ด้วยการดำเนินการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเป็นอันดับแรกเพื่อศึกษาสภาพพื้นที่จริงอันนำมาสู่การออกแบบและลงรายละเอียดของข้อมูลในแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ ให้มีความเหมาะสมและสะท้อนข้อมูลภาพรวมจากสภาพพื้นที่จริงได้
ผลการศึกษาพบว่า ความเป็นพลเมืองของประชาชนในทั้งสองพื้นที่มีความแตกต่างกันโดยในการแสดงออกถึงความเป็นพลเมืองทางการเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งได้รับรางวัลให้ความสำคัญกับสิทธิพลเมืองในการแสดงความคิดเห็นและสิทธิในการนับถือศาสนาขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปให้ความสำคัญกับสิทธิในการอยู่อาศัยและสิทธิในการได้รับการศึกษา นอกจากนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งได้รับรางวัลและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปให้ความสำคัญกับหน้าที่พลเมืองในด้านการปกป้องประเทศชาติ การเลือกตั้ง การติดตามข่าวสารบ้านเมือง โดยหน้าที่ในการเสียภาษีมีความสำคัญเป็นอันดับสุดท้ายในทั้งสองพื้นที่
การวิจัย ในด้านการรักษาสิทธิของผู้อื่นเพื่อการแสดงความคิดเห็นที่แตกต่าง พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลมีค่าเฉลี่ยการอนุญาตให้ผู้อื่นแสดงความคิดเห็นในเรื่องการเมืองมากกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไป ทั้งนี้ การแสดงออกถึงความอดทนเมื่อมีความเห็นทางการเมืองที่แตกต่างของทั้งสองพื้นที่การวิจัยคือ การแสดงออกโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงออกโดยอาการเฉยๆ และการแสดงออกโดยการพูดคุยชักจูงให้เห็นด้วยกับตนในการแสดงออกถึงความเป็นพลเมืองทางการบริหาร พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลมีความคาดหวัง การตระหนักถึงปัญหา แนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหา ด้วยความกระตือรือร้น อันเป็นผลจากการปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน โดยผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลพยายามสร้างและกระตุ้นให้ประชาชนได้เรียนรู้ในการแก้ไขและพัฒนาพื้นที่ด้วยตนเองผ่านระบบการมีส่วนร่วมแบบงบประมาณภายใต้การทาความเข้าใจระหว่างกันว่า ผู้บริหารมีช่วงเวลาที่จา กัด การพัฒนาหรือผลของการพัฒนาจำเป็นต้องดำเนินต่อเนื่องด้วยการขับเคลื่อนของภาคประชาชน ขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปมองว่าประชาชนยังคงเป็ นเพียงผู้รับบริการเท่านั้น นอกจากนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลยังให้ความสำคัญกับตนเองในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาชุมชนมากกว่าคณะผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ แตกต่างจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปที่ให้ความสำคัญกับคณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานรัฐในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาชุมชนมากที่สุด ซึ่งผลการวิจัยยังพบอีกว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วไปมีความยึดติดในตัวผู้นำมากกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลอีกด้วย
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะว่า การมีส่วนร่วมในงบประมาณ เป็นกระบวนการบริหารสำคัญที่ช่วยส่งเสริมและกระตุ้นให้ประชาชนแสดงออกถึงความเป็นพลเมืองได้เป็นอย่างดีในทางพฤติกรรมของหน่วยงานรัฐไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร หรือข้าราชการ และพฤติกรรมของประชาชนล้วนเป็นตัวกำหนดการแสดงบทบาทอย่างใดอย่างหนึ่งของสถานะความสัมพันธ์ที่มีระหว่างกันฉะนั้น เพื่อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานรัฐและภาคประชาชนที่ส่งเสริมความเป็ นพลเมือง หน่วยงานรัฐควรเริ่มปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์และมุมมองของผู้บริหารที่มีต่อประชาชนในพื้นที่ให้อยู่ในฐานะของเจ้าของทรัพยากร ตลอดจนในฐานะผู้มีบทบาทในการขับเคลื่อนการบริการสาธารณะ ขณะเดียวกัน ในด้านของประชาชนจา ต้องมองเห็นความสา คัญของตนเองมากยิ่งขึ้น ไม่ยึดติดในตัวของผู้นำหรือนักการเมือง ประชาชนผู้มีความเป็นพลเมืองต้องมีความมั่นใจในศักยภาพในการปกครองที่ตนเอง ทั้งยังมีความสามารถในการกำหนดระบบหรือเงื่อนไขในการปกครองตลอดจนการขับเคลื่อนระบบหรือเงื่อนไขดังกล่าวด้วยตนเองได้
ให้สถาบันการศึกษาต่างๆ จัดการเรียนการสอนเศรษฐกิจพอเพียง 2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และโรงเรียน ส่งเสริมการศึกษาดูงานด้านการเกษตรเศรษฐกิจพอเพียง และ 3) เทคโนโลยีการ
สื่อสารที่มีความทันสมัย อุปสรรค 1) ลูกค้าขาดการรับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของพิพิธภัณฑ์ฯ
และมีปัจจัยที่ส่งผลต่อความสา เร็จในการนา กลยุทธ์หลัก 4 กลยุทธ์ไปปฏิบัติ กลยุทธ์เครือข่าย
และภาคีความร่วมมือ กลยุทธ์พัฒนาองค์ความรู้ กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ และกลยุทธ์การตลาด
คือ 1) การจัดกิจกรรมที่มีความหลากหลาย และกิจกรรมการเรียนรู้เกษตรเศรษฐกิจพอเพียง 2) การ
ถ่ายทอดองค์ความรู้เกษตรเศรษฐกิจพอเพียง 3) เครือข่าย และสมาชิกเครือข่ายที่เข้มแข็ง 4) บุคลากร
มีความรู้มีจิตใจบริการ ปฏิบัติงานได้หลายหน้าที่ ยืดหยุ่น ช่วยงานซึ่งกันและกัน
ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา สานักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติ (องค์การ
มหาชน) ควรดา เนินการ ดังนี้
1) มุ่งเน้นกลยุทธ์ระดับองค์การ คือ กลยุทธ์ขยายตัวแบบกระจุกตัว ด้านการ
พัฒนาตลาด ใช้ผลิตภัณฑ์เดิม เพิ่มกลุ่มลูกค้า ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาคุณภาพ คุณสมบัติ
คุณลักษณะ ด้านการเจาะตลาด ผลิตภัณฑ์เดิม ลูกค้ากลุ่มเดิม เพิ่มปริมาณการใช้ ความถี่ และ
วิธีใช้
2) มุ่งเน้นกลยุทธ์ระดับธุรกิจ กลยุทธ์การเป็ นผู้นาด้านต้นทุนต่า สร้างความ
ได้เปรียบด้านราคา กลยุทธ์การสร้างความแตกต่าง สร้างภาพลักษณ์ใหม่ สร้างตราสินค้าใหม่ และ
กลยุทธ์มุ่งเฉพาะส่วน พัฒนาสินค้าเฉพาะของพิพิธภัณฑ์ สา หรับลูกค้าเฉพาะ
3) มุ่งเน้นกลยุทธ์ระดับหน้าที่ 1) กลยุทธ์เครือข่ายและภาคีความร่วมมือ พัฒนา
เครือข่าย ขยายเครือข่ายทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ ในระดับพื้นที่ให้มากขึ้น เก็บเกี่ยวองค์ความรู้
นาไปสู่ 2) กลยุทธ์พัฒนาองค์ความรู้ เพื่อมาประยุกต์ใช้ในการดาเนินกิจกรรม 3) กลยุทธ์
ประชาสัมพันธ์ ทางสังคมโลกออนไลน์ต่อกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ 4) กลยุทธ์การตลาด พัฒนากิจกรรม
ให้ตรงตามกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย พัฒนาหน่วยเคลื่อนที่ และจัดโปรโมชั่น ลด แลก แจก แถม
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (รป.ม. (นโยบายสาธารณะและการจัดการเชิงกลยุทธ์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557