นวัตกรรมทางวิธีคิดเพื่อการสื่อสารศาสนาของพระไพศาล วิสาโล
Publisher
Issued Date
2013
Issued Date (B.E.)
2556
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
169 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
ba186001
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วศิน ประดิษฐศิลป์ (2013). นวัตกรรมทางวิธีคิดเพื่อการสื่อสารศาสนาของพระไพศาล วิสาโล. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3326.
Title
นวัตกรรมทางวิธีคิดเพื่อการสื่อสารศาสนาของพระไพศาล วิสาโล
Alternative Title(s)
The strategic thinking system for innovative religious communication of Phra Paisal Visalo
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษานีมี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษานวัตกรรมการสื่อสาร (รูปแบบการสื่อสาร)
ศาสนาของพระไพศาล วิสาโล และ 2) วิเคราะห์หาระบบความคิดเชิงจิตวิทยา (การคิดแบบ
วิพากษ์และแบบสร้างสรรค์) แบบปุถุชน ที่มีผลต่อรูปแบบการสื่อสารศาสนาของพระไพศาล วิ
สาโล ทาการศึกษาผ่านการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยเอกสารและการสัมภาษณ์พระไพศาล
วิสาโล ผ่านจดหมายอีเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เป็นเครื่องมือในการวิจัย
ผลการศึกษาส่วนที่ 1 พบว่า พระไพศาล วิสาโล ใช้ “นวัตกรรมสื่อ” ได้แก่ 1) สื่อดัง้ เดิม “ธรรมยาตรา” 2) สื่อสมัยใหม่ ได้แก่ สื่อโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อกิจกรรม สื่อใหม่ และ 3) สื่ออื่นๆ ได้แก่ เครือข่ายการสื่อสารและผลงานวิชาการ โดยสื่อสารผ่าน “นวัตกรรมสาร” ประกอบด้วย การ เล่าเรื่อง การผสมผสานเรื่องทางโลกและทางธรรม การอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการ อารมณ์ขัน การ ดึงอารมณ์ การรื ้อถอนความหมาย ความใกล้ชิด ภาษาที่สะท้อนความถ่อมตัว และการใช้สาร ภาษาอังกฤษ ทาให้เกิดนวัตกรรมการสื่อสารศาสนาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ มีความเหมาะสมกับ กลุ่มผู้มีการศึกษาและบริบทสังคมไทยปัจจุบัน ประกอบกับผลการศึกษาในส่วนที่ 2 พบว่า พระ ไพศาล วิสาโล ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ต่างๆ เช่น วิทยาศาสตร์ รัฐศาสตร์ ศาสนาและจิตวิญญาณ ฯลฯ เข้ากับระบบความคิดทางโลก (การคิดแบบวิพากษ์และแบบสร้างสรรค์) และทางธรรม โดยใช้ “การคิดสร้างสรรค์” ในการพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารศาสนารูปแบบต่างๆ และใช้ “ระบบคิดทาง ธรรม” และ “การคิดวิพากษ์” ในการพิจารณาเลือกใช้นวัตกรรมตามความเหมาะสมของบริบทและ สถานการณ์ที่แตกต่างกัน เช่น สืบสานพระพุทธศาสนา อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการแก้ไข ปัญหาเชิงสันติวิธี และแนวนาแนวทางเรื่องความตายอย่างสงบ ซงึ่ สามารถสรุปน้ำหนักของระบบความคิดที่ใช้ในการพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารศาสนาได้ว่า พระไพศาล วิสาโล ใช้การคิดแบบ วิพากษ์มากกว่าการคิดแบบสร้างสรรค์
The objectives of this study are 1) to investigate the model of innovative religious communication utilized by Phra Paisal Visalo and 2) to explore and analyze the impact of mental thinking systems (critical and creative thinking) used by Phra Paisal Visalo for religious communication purposes. Documentary research and in-depth interview were employed in this qualitative research. The study shows that Phra Paisal Visalo used “innovative media,” consisting of 1) Buddhist traditional media: Dharma Yatra 2) modern contemporary media: television, printing media, special event, and new media and 3) miscellaneous media: communication network and academic papers. Then, he centered secular and sacred issues as the focal point. In order to get this message across to the target audience, he employed various communication techniques such as communicating through storytelling style, creating emotional effects in order to draw attention, engaging with audience through everyday life topics, his sense of humor, and simple language, including acknowledging research papers. He also communicated in English written format. This combination of communication techniques is distinctive and appropriate in Thai contemporary society. It therefore is considered to be the concept of “innovative messages” heavily facilitated through critical thinking and sacred thinking. The result also reveals that the way of Phra Paisal Visalo’s thinking system was functioned depending upon variable situations in his primary four religious communication contexts: maintaining the ideology of Buddhism, conserving the natural environment, promoting nonviolence, and guiding the notion of “rest in peace” for the conclusive moment of lives before death.
ผลการศึกษาส่วนที่ 1 พบว่า พระไพศาล วิสาโล ใช้ “นวัตกรรมสื่อ” ได้แก่ 1) สื่อดัง้ เดิม “ธรรมยาตรา” 2) สื่อสมัยใหม่ ได้แก่ สื่อโทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อกิจกรรม สื่อใหม่ และ 3) สื่ออื่นๆ ได้แก่ เครือข่ายการสื่อสารและผลงานวิชาการ โดยสื่อสารผ่าน “นวัตกรรมสาร” ประกอบด้วย การ เล่าเรื่อง การผสมผสานเรื่องทางโลกและทางธรรม การอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการ อารมณ์ขัน การ ดึงอารมณ์ การรื ้อถอนความหมาย ความใกล้ชิด ภาษาที่สะท้อนความถ่อมตัว และการใช้สาร ภาษาอังกฤษ ทาให้เกิดนวัตกรรมการสื่อสารศาสนาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ มีความเหมาะสมกับ กลุ่มผู้มีการศึกษาและบริบทสังคมไทยปัจจุบัน ประกอบกับผลการศึกษาในส่วนที่ 2 พบว่า พระ ไพศาล วิสาโล ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ต่างๆ เช่น วิทยาศาสตร์ รัฐศาสตร์ ศาสนาและจิตวิญญาณ ฯลฯ เข้ากับระบบความคิดทางโลก (การคิดแบบวิพากษ์และแบบสร้างสรรค์) และทางธรรม โดยใช้ “การคิดสร้างสรรค์” ในการพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารศาสนารูปแบบต่างๆ และใช้ “ระบบคิดทาง ธรรม” และ “การคิดวิพากษ์” ในการพิจารณาเลือกใช้นวัตกรรมตามความเหมาะสมของบริบทและ สถานการณ์ที่แตกต่างกัน เช่น สืบสานพระพุทธศาสนา อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการแก้ไข ปัญหาเชิงสันติวิธี และแนวนาแนวทางเรื่องความตายอย่างสงบ ซงึ่ สามารถสรุปน้ำหนักของระบบความคิดที่ใช้ในการพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารศาสนาได้ว่า พระไพศาล วิสาโล ใช้การคิดแบบ วิพากษ์มากกว่าการคิดแบบสร้างสรรค์
The objectives of this study are 1) to investigate the model of innovative religious communication utilized by Phra Paisal Visalo and 2) to explore and analyze the impact of mental thinking systems (critical and creative thinking) used by Phra Paisal Visalo for religious communication purposes. Documentary research and in-depth interview were employed in this qualitative research. The study shows that Phra Paisal Visalo used “innovative media,” consisting of 1) Buddhist traditional media: Dharma Yatra 2) modern contemporary media: television, printing media, special event, and new media and 3) miscellaneous media: communication network and academic papers. Then, he centered secular and sacred issues as the focal point. In order to get this message across to the target audience, he employed various communication techniques such as communicating through storytelling style, creating emotional effects in order to draw attention, engaging with audience through everyday life topics, his sense of humor, and simple language, including acknowledging research papers. He also communicated in English written format. This combination of communication techniques is distinctive and appropriate in Thai contemporary society. It therefore is considered to be the concept of “innovative messages” heavily facilitated through critical thinking and sacred thinking. The result also reveals that the way of Phra Paisal Visalo’s thinking system was functioned depending upon variable situations in his primary four religious communication contexts: maintaining the ideology of Buddhism, conserving the natural environment, promoting nonviolence, and guiding the notion of “rest in peace” for the conclusive moment of lives before death.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2556