• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
  • GSCM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

นวัตกรรมการสื่อสารความเป็นไทยผ่านภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่อง "ยักษ์"

by ดารายา บัวทอง

Title:

นวัตกรรมการสื่อสารความเป็นไทยผ่านภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่อง "ยักษ์"

Other title(s):

The portrayal of Thai identity in Thai animation, "The Giant King"

Author(s):

ดารายา บัวทอง

Advisor:

อุบลวรรณ เปรมศรีรัตน์

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม

Degree department:

คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2014

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยครั้งนีมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่แสดงถึงความเป็นไทย ในภาพยนตร์ แอนิเมชั่นเรื่อง “ยักษ์” ทั้งในด้านเนื้อหาและการออกแบบองค์ประกอบศิลป์ และศึกษานวัตกรรม การสื่อสารที่ใช้ในการนำเสนอความเป็นไทย งานวิจัยนีเป็นงานวิจยั เชิงคุณภาพแหล่งข้อมูลที่ใช้ ในการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ DVD ภาพยนตร์แอนิเมชั่น “ยักษ์” หนังสือ “ยักษ์ Yak The Giant King” (Concept Art) ที่เล่าถึงเบื้องหลังการผลิตอย่างสมบรูณ์และกลุ่มผู้รับสารที่มี ความรู้ความเชี่ยวชาญและทำงานอยู่ในวงการผลิตแอนิเมชั่นในประเทศไทย
ผลจากการศึกษาพบว่า “ยักษ์” มีการสื่อสารความเป็นไทยในเนื้อเรื่องและการออกแบบ ตัวละครเป็นส่วนใหญ่เนื่องจากมีต้นแบบหรือแรงบันดาลใจในการผลิตมาจากวรรณคดีเรื่อง “รามเกียรติ์” จึงทำให้เป็นที่ผูกพันกับชาวไทยแม้จะมีภาพลักษณ์ภายนอกเป็นหุ่นยนต์แบบสากล ก็ตาม “ยักษ์” จึงมีความเป็นสากลมากกว่าภาพยนตร์แอนิเมชั่น สัญชาติไทยเรื่องอื่น ๆ ที่ผ่านมา แต่กลับสามารถสร้างความประทับใจแก่ผ้รู้บสารได้มากขึ้นและช่วยยกระดับวงการภาพยนตร์แอนิ เมชั่นไทยให้เป็นไปในทางที่ดี โดยภาพยนตร์แอนิเมชั่นเรื่องนี้มีการสื่อสารนวัตกรรมอย่าง หลากหลาย ตั้งแตแนวคิดของผู้กำกับมาจนถึงการนำเสนอภาพยนตร์แอนิเมชั่นไทยให้ออกมาใน รูปแบบสากล โดยยังคงเอกลักษณ์ความเป็นไทยไว้ ด้วยวิธีการผสมผสานข้ามสายพันธุ์ทาง วัฒนธรรมระหว่างวัฒนธรรมไทยกับตะวันตก การผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมประชานิยมอย่าง แอนิเมชั่น และวัฒนธรรมระดับสูงอย่างรามเกียรติ์ และการใช้แนวคิดหลังสมยั ใหม่ในการผลิต (ที่ ต่อต้านแนวคิดในการผลิตแอนิเมชั่นแบบอนุรักษ์นิยมที่ไม่ตรงกับความต้องการของผู้บริโภคใน ปัจจุบัน)
The objective of this research is to study the Thai animation in order to analyze elements of contents and composition design demonstrating Thai identity in Thai animation “The Giant King” and to study communication innovation applied to Thai identity presentation. This is a qualitative research and data source for the study was divided into two groups; the referred book “Yak The Giant King” which tells complete production background and receivers who have knowledge and specialization including they worked in the animation cycle in Thailand. The study showed that the Thai animation “The Giant King” mainly demonstrated Thai identity in the parts of story and character design. However, most elements demonstrating Thai identity were in the forms of knowledge and thought conveyed through the pattern of symbols. In addition, this Thai animation also applied communication innovation to jointly present Thai identity. It was culture hybridization by integrating the world culture like the animation into the local culture like the literature “Ramakien” as well as the cultural integration between the pop culture like the animation and the high culture like “Ramakien.” Furthermore, the production applied the post modern demonstrating Thai identity for contemporary design and to match receivers in modern era. Thus, applying communication innovation to present Thai identity in Thai animation “The Giant King” was an important sample for developing the presentation pattern of Thai animation in order to perfectly build impression to receivers.

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557

Subject(s):

การสื่อสาร

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

158 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3341
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • ba185982.pdf ( 3,132.78 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSCM: Theses [175]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×