การประเมินผลนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ : กรณีศึกษา โรงเรียนที่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1
Publisher
Issued Date
2014
Issued Date (B.E.)
2557
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
308 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b192183
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ตรีวนันท์ เนื่องอุไท (2014). การประเมินผลนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ : กรณีศึกษา โรงเรียนที่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4121.
Title
การประเมินผลนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ : กรณีศึกษา โรงเรียนที่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1
Alternative Title(s)
The evaluation of free education policy for 15 year : a case study at the schools in Nakhon Si Thammarat education service area office 1
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดําเนินนโยบายเรียนฟรี 15 ปี อย่างมี คุณภาพ โดยศึกษาจากโรงเรียนที่สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน และผู้ปกครอง หลังการดําเนินนโยบายฯ และศึกษา ความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินนโยบายฯ และ เสนอแนะวิธีแก้ปัญหาที่เหมาะสม
วิธีการประเมินนโยบายฯ ใช้การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามสํารวจจากนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จํานวน 450 คน และใช้การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การสัมภาษณ์แบบ สนทนากลุ่มกับกลุ่มประชากรที่เป็นผู้ปกครองนักเรียนจํานวน 24 คน และผู้บริหารโรงเรียนจํานวน 24 คน ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และ Anova
ผลการศึกษา
1) ลักษณะทั่วไปของประชากรเชิงปริมาณ พบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่ศึกษาใน โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ที่ตอบแบบสอบถาม เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายส่วนใหญ่มีผู้ปกครองจบวุฒิการศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษา ผู้ตอบ แบบสอบถามมีลักษณะที่อยู่อาศัยเป็นบ้านของตัวเองมากที่สุด ส่วนใหญ่มีจํานวนพี่น้อง 2-3 คน ส่วน ใหญ่มีบิดาและมารดาประกอบอาชีพลูกจ้างและรับจ้าง และส่วนใหญ่ได้รับเงินค่าขนมวันละ 11 - 20บาท
2) การประเมินผลความพึงพอใจของประชากรเชิงปริมาณ พบว่ามีความพึงพอใจต่อการดําเนิน นโยบายฯ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 127 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ปรากฏว่ามีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.15 - 1.13 ซึ่งเป็นค่าคะแนนที่อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด โดย มีความพึงพอใจสูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ หัวข้อการดําเนินนโยบายมีผsti แนวทางการศึกษาต่อ การ ดําเนินนโยบายมีผลต่อคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพของการดําเนินงาน
3) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกับความคิดเห็น พบว่าเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม ระดับชั้น การศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวนพี่น้องของผู้ตอบแบบสอบถาม ระดับชั้นการศึกษาสูงสุดของ ผู้ปกครอง อาชีพของบิดา และอาชีพของมารดาของผู้ตอบแบบสอบถาม มีผฆเอ่อความพึงพอใจและ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในเรื่องความพึงพอใจต่อนโยบายฯ โดยภาพรวม เรื่องความ เพียงพอของงบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรในTารดําเนินนโยบายฯ เรื่องการประชาสัมพันก็ข้อมูล ข่าวสาร เรื่องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและนักเรียนในแต่ละกระบวนการ เรื่องการลดภาระค่าใช้จ่าย เรื่องการดําเนินนโยบายฯ มีผลต่อแนวทางการศึกษาต่อ และเรื่องการดําเนินนโยบายฯ มีผลต่อคุณภาพ การศึกษา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
4) ปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินนโยบายฯ พบว่า มีปัญหาในการสื่อสารรายละเอียด ของนโยบายฯ ให้ผู้ปกครองและนักเรียนเข้าใจในตอนแรก นอกจากนี้ยังมียังมีข้อจํากัดในการ ด้าเนินนโยบายฯ ที่กําหนดให้ใช้จ่ายได้เพียงบางอย่างเท่านั้น ทั้งๆ ที่แต่ละโรงเรียนมีความพร้อม สภาพแวดล้อม และบริบทที่แตกต่างกัน ทําให้การใช้จ่ายงบประมาณไม่ประสบความสําเร็จ เท่าที่ควร
5) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม นักเรียนส่วนใหญ่ต้องการให้เปลี่ยนระบบหนังสือยืมเรียนเป็นการซื้อหนังสือเรียนแบบ 100% ให้ทุกภาคเรียน เพื่อใช้สําหรับเตรียมตัวศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และอยากให้มีงบประมาณค่าอาหาร กลางวัน ค่าครองชีพ และค่าเดินทางให้กับนักเรียนที่มีฐานะยากจน นอกจากนี้ยังต้องการให้มี งบประมาณในการปรับปรุงอาคารสถานที่ ห้องสมุด และที่ออุปกรณ์กีฬาเพิ่มด้วย
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ต้องการให้เพิ่มงบประมาณให้เพียงพอในการใช้จ่ายจริง และให้เพิ่ม กิจกรรมในการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมให้กับนักเรียนให้มากขึ้น และอยมาให้มีงบประมาณ ในการจัดสอนเสริมและจัดรถรับส่งนักเรียนในการเดินทางไปโรงเรียนด้วย
ผู้บริหารโรงเรียนส่วนใหญ่ต้องการให้มีงบประมาณสําหรับการแก้ไขปัญหาตามบริบทที่ สอดคล้องกับโรงเรียนของตัวเองมากกว่าที่จะเป็นการกําหนดตายตัวเพราะจะทําให้ไม่สามารถ แก้ไขปัญหาได้ตรงจุด โดยเฉพาะงบประมาณในการจ้างครูเพิ่มเพราะในปัจจุบันจํานวนครูมีน้อยและต้องสอนในรายวิชาที่ตนเองไม่ถนัด ทําให้คุณภาพการจัดการเรียนการสอนยิ่งน้อยลง และควร มีการพิจารณาเรื่องหลักสูตรด้วย เพราะในปัจจุบันมีหลักสูตรและกิจกรรมเสริมหลักสูตรมาก เกินไปจนทําให้เด็กเกิดความสับสนและครูมีความกดดัน นอกจากนี้ควรเปลี่ยนการวัดผลจากการ ใช้เครื่องมีขเดียวกันทั่วประเทศ มาเป็นการวัดผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน จะเป็น วิธีการที่มีความยุติธรรมมากกว่า เพราะนักเรียนในแต่ละพื้นที่มีความพร้อมแตก ต่างกัน
วิธีการประเมินนโยบายฯ ใช้การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามสํารวจจากนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6 จํานวน 450 คน และใช้การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การสัมภาษณ์แบบ สนทนากลุ่มกับกลุ่มประชากรที่เป็นผู้ปกครองนักเรียนจํานวน 24 คน และผู้บริหารโรงเรียนจํานวน 24 คน ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และ Anova
ผลการศึกษา
1) ลักษณะทั่วไปของประชากรเชิงปริมาณ พบว่านักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ที่ศึกษาใน โรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1 ที่ตอบแบบสอบถาม เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายส่วนใหญ่มีผู้ปกครองจบวุฒิการศึกษาสูงสุดระดับประถมศึกษา ผู้ตอบ แบบสอบถามมีลักษณะที่อยู่อาศัยเป็นบ้านของตัวเองมากที่สุด ส่วนใหญ่มีจํานวนพี่น้อง 2-3 คน ส่วน ใหญ่มีบิดาและมารดาประกอบอาชีพลูกจ้างและรับจ้าง และส่วนใหญ่ได้รับเงินค่าขนมวันละ 11 - 20บาท
2) การประเมินผลความพึงพอใจของประชากรเชิงปริมาณ พบว่ามีความพึงพอใจต่อการดําเนิน นโยบายฯ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 127 และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ปรากฏว่ามีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1.15 - 1.13 ซึ่งเป็นค่าคะแนนที่อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด โดย มีความพึงพอใจสูงที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ หัวข้อการดําเนินนโยบายมีผsti แนวทางการศึกษาต่อ การ ดําเนินนโยบายมีผลต่อคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพของการดําเนินงาน
3) ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกับความคิดเห็น พบว่าเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม ระดับชั้น การศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวนพี่น้องของผู้ตอบแบบสอบถาม ระดับชั้นการศึกษาสูงสุดของ ผู้ปกครอง อาชีพของบิดา และอาชีพของมารดาของผู้ตอบแบบสอบถาม มีผฆเอ่อความพึงพอใจและ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในเรื่องความพึงพอใจต่อนโยบายฯ โดยภาพรวม เรื่องความ เพียงพอของงบประมาณ บุคลากร และทรัพยากรในTารดําเนินนโยบายฯ เรื่องการประชาสัมพันก็ข้อมูล ข่าวสาร เรื่องการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและนักเรียนในแต่ละกระบวนการ เรื่องการลดภาระค่าใช้จ่าย เรื่องการดําเนินนโยบายฯ มีผลต่อแนวทางการศึกษาต่อ และเรื่องการดําเนินนโยบายฯ มีผลต่อคุณภาพ การศึกษา อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
4) ปัญหาและอุปสรรคในการดําเนินนโยบายฯ พบว่า มีปัญหาในการสื่อสารรายละเอียด ของนโยบายฯ ให้ผู้ปกครองและนักเรียนเข้าใจในตอนแรก นอกจากนี้ยังมียังมีข้อจํากัดในการ ด้าเนินนโยบายฯ ที่กําหนดให้ใช้จ่ายได้เพียงบางอย่างเท่านั้น ทั้งๆ ที่แต่ละโรงเรียนมีความพร้อม สภาพแวดล้อม และบริบทที่แตกต่างกัน ทําให้การใช้จ่ายงบประมาณไม่ประสบความสําเร็จ เท่าที่ควร
5) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม นักเรียนส่วนใหญ่ต้องการให้เปลี่ยนระบบหนังสือยืมเรียนเป็นการซื้อหนังสือเรียนแบบ 100% ให้ทุกภาคเรียน เพื่อใช้สําหรับเตรียมตัวศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และอยากให้มีงบประมาณค่าอาหาร กลางวัน ค่าครองชีพ และค่าเดินทางให้กับนักเรียนที่มีฐานะยากจน นอกจากนี้ยังต้องการให้มี งบประมาณในการปรับปรุงอาคารสถานที่ ห้องสมุด และที่ออุปกรณ์กีฬาเพิ่มด้วย
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ต้องการให้เพิ่มงบประมาณให้เพียงพอในการใช้จ่ายจริง และให้เพิ่ม กิจกรรมในการส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมให้กับนักเรียนให้มากขึ้น และอยมาให้มีงบประมาณ ในการจัดสอนเสริมและจัดรถรับส่งนักเรียนในการเดินทางไปโรงเรียนด้วย
ผู้บริหารโรงเรียนส่วนใหญ่ต้องการให้มีงบประมาณสําหรับการแก้ไขปัญหาตามบริบทที่ สอดคล้องกับโรงเรียนของตัวเองมากกว่าที่จะเป็นการกําหนดตายตัวเพราะจะทําให้ไม่สามารถ แก้ไขปัญหาได้ตรงจุด โดยเฉพาะงบประมาณในการจ้างครูเพิ่มเพราะในปัจจุบันจํานวนครูมีน้อยและต้องสอนในรายวิชาที่ตนเองไม่ถนัด ทําให้คุณภาพการจัดการเรียนการสอนยิ่งน้อยลง และควร มีการพิจารณาเรื่องหลักสูตรด้วย เพราะในปัจจุบันมีหลักสูตรและกิจกรรมเสริมหลักสูตรมาก เกินไปจนทําให้เด็กเกิดความสับสนและครูมีความกดดัน นอกจากนี้ควรเปลี่ยนการวัดผลจากการ ใช้เครื่องมีขเดียวกันทั่วประเทศ มาเป็นการวัดผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน จะเป็น วิธีการที่มีความยุติธรรมมากกว่า เพราะนักเรียนในแต่ละพื้นที่มีความพร้อมแตก ต่างกัน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (รอ.ม.) -- สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557