dc.contributor.advisor | เทิดชาย ช่วยบำรุง | |
dc.contributor.author | เอกธนา พลเชียงขวาง | |
dc.date.accessioned | 2019-02-12T06:35:37Z | |
dc.date.available | 2019-02-12T06:35:37Z | |
dc.date.issued | 2015 | |
dc.identifier | b189689 | th |
dc.identifier.uri | http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4253 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558 | th |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยในการเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวอัญมณีของจังหวัดจันทบุรี ประเมินระดับศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวอัญมณีของจังหวัดจันทบุรีจากการสำรวจทัศนคติที่ดีของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อ
แหล่งท่องเที่ยว และเสนอแนะแนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอัญมณีของจังหวัดจันทบุรีเพื่อ
ตอบสนองพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทย ประชากร คือนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมา
ท่องเที่ยวยังจังหวัดจันทบุรี จำนวน 400 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ | th |
dc.description.abstract | 1. นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีสถานภาพส่วนใหญ่แต่งงานแล้ว มีอายุระหว่าง 31- 40 ปี
และมีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001-35,000 โดยนักท่องเที่ยวส่วนมาก
มีภูมิลำเนาในภาคกลาง | th |
dc.description.abstract | 2. ด้านแหล่งข้อมูลก่อนการเดินทางท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวอัญมณีที่นักท่องเที่ยวได้รับมากสุด คือ อินเทอร์เน็ต โดยพาหนะในการเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวอัญมณี ส่วนมากเป็นรถยนต์ส่วนบุคคล ลักษณะการเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวอัญมณีมากสุด คือ
ท่องเที่ยวกับครอบครัว | th |
dc.description.abstract | 3. ด้านทัศนคติต่อแหล่งท่องเที่ยวอัญมณีจังหวัดจันทบุรี ด้านสถานที่ท่องเที่ยว ในภาพรวมพบว่า นักท่องเที่ยวมีทัศนคติต่อศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวในระดับมาก | th |
dc.description.abstract | 4. ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่าปัจจัยส่วนบุคคลด้าน สถานภาพสมรส อายุ การศึกษา
อาชีพ และภูมิลำเนาที่แตกต่างกัน ไม่ได้ส่งผลให้นักท่องเที่ยวนั้นมีทัศนคติต่อแหล่งท่องเที่ยวนั้น
แตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตาม ผลการทดสอบสมมติฐานก็ได้พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอาชีพ ด้าน
รายได้ และด้านอายุของนักท่องเที่ยวนั้นมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเดินทางท่องเที่ยวแหล่ง
ท่องเที่ยวอัญมณีจังหวัดจันทบุรีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th |
dc.format.extent | 174 แผ่น | th |
dc.format.mimetype | application/pdf | th |
dc.language.iso | tha | th |
dc.publisher | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
dc.rights | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ลิขสิทธิ์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
dc.subject | แหล่งท่องเที่ยวอัญมณี | th |
dc.subject.other | การท่องเที่ยว | th |
dc.subject.other | การท่องเที่ยวแบบผจญภัย | th |
dc.title | แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวอัญมณีของจังหวัดจันทบุรีเพื่อตอบสนองพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทย | th |
dc.title.alternative | Guidelines for jewels tourist attractions development of Chanthaburi Province in response to Thai tourists' behavior | th |
dc.type | Text | th |
dc.rights.holder | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
mods.genre | วิทยานิพนธ์ | th |
mods.physicalLocation | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา | th |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
thesis.degree.level | Master's | th |
thesis.degree.discipline | การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ | th |
thesis.degree.grantor | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
thesis.degree.department | คณะการจัดการการท่องเที่ยว | th |