ผลของนวัตกรรมการสื่อสารเรื่องภาวะโภชนาการเกินที่มีผลต่อความรู้
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
110 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b190144
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
เอกราช ดีเลิศ (2015). ผลของนวัตกรรมการสื่อสารเรื่องภาวะโภชนาการเกินที่มีผลต่อความรู้. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4930.
Title
ผลของนวัตกรรมการสื่อสารเรื่องภาวะโภชนาการเกินที่มีผลต่อความรู้
Alternative Title(s)
Effects of innovative communication on the topic of overweight towards knowledge, attitude and practices of upper primary school students
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยเรื่องผลของนวัตกรรมการสื่อสารเรื่องภาวะโภชนาการเกินที่มีต่อความรู้ทัศนคติ
และการปฏิบัติของเด็กประถมศึกษาตอนปลายมีวัตถุประสงศึกษาประสิทธิผลของเทคโนโลยี
การสื่อสารผานช่องทาง SMS (Short Message Service) ในด้านความรู้ทัศนคติและการปฏิบัติตน
ด้านโภชนาการของเด็กวัยประถมศึกษาตอนปลาย ระหว่างก่อนทาการทดลองและหลังทำการ
ทดลองและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ทัศนคติและพฤติกรรมการปฏิบัติตนเรื่อง
โภชนาการ
กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนาหลวงกรุงเทพมหานคร จำนวน 220 คน มีการวัดคะแนนของนักเรียนกลุ่มตวอย่างก่อนและหลังการทดลองจากนั้นนำ ขอมูลมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างด้วยค่าที (t-test) และหา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’ s Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลคะแนนความรู้เรื่องโภชนาการก่อนและหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสาร เรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียนชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS มีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้สูงขึ้นและเมื่อนำมาเปรียบเทียบคะแนนความรู้เรื่องโภชนาการก่อน และหลังส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS ก็พบว่า คะแนนเฉลี่ยด้านความรู้มีความแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลคะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการก่อนและหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสาร เรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียนชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS มีคะแนนเฉลี่ยด้านทัศนคติสูงขึ้นและเมื่อนำมาเปรียบเทียบคะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการ ก่อนและหลังสั่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS ก็พบว่าคะแนนเฉลี่ยด้านทัศนคติมีความแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลคะแนนการปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการก่อนและหลังทำการส่งข้อมูล ข่าวสารเรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียนชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูล ข่าวสารผ่าน SMS มีคะแนนเฉลี่ยด้านการปฏิบัติิตนสูงขึ้นและเมื่อนำมาเปรียบเทียบคะแนนการ ปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการก่อนและหลังสั่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS ก็พบว่าคะแนนเฉลี่ยด้านการ ปฏิบัติตน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลการทดสอบสมมติฐานของคะแนนความรู้เรื่องโภชนาการและคะแนน การปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสารเรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียน ชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS คะแนนความรู้เรื่องโภชนาการมี ความสัมพันธ์เชิงลบกับคะแนนการปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5) ผลการทดสอบสมมติฐานของคะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการและคะแนน การปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสารเรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียน ชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS คะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการไม่ มีความสัมพันธ์์กับคะแนนการปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6) ผลการทดสอบสมมติฐานของคะแนนความรู้เรื่องโภชนาการและคะแนน ทัศนคติเรื่องโภชนาการหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสารเรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียนชั้น ประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS คะแนนความรู้เรื่องโภชนาการไม่มี ความสัมพันธ์์กับคะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการในทางสถิติ
กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนาหลวงกรุงเทพมหานคร จำนวน 220 คน มีการวัดคะแนนของนักเรียนกลุ่มตวอย่างก่อนและหลังการทดลองจากนั้นนำ ขอมูลมาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างด้วยค่าที (t-test) และหา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’ s Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลคะแนนความรู้เรื่องโภชนาการก่อนและหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสาร เรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียนชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS มีคะแนนเฉลี่ยด้านความรู้สูงขึ้นและเมื่อนำมาเปรียบเทียบคะแนนความรู้เรื่องโภชนาการก่อน และหลังส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS ก็พบว่า คะแนนเฉลี่ยด้านความรู้มีความแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลคะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการก่อนและหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสาร เรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียนชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS มีคะแนนเฉลี่ยด้านทัศนคติสูงขึ้นและเมื่อนำมาเปรียบเทียบคะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการ ก่อนและหลังสั่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS ก็พบว่าคะแนนเฉลี่ยด้านทัศนคติมีความแตกต่างอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลคะแนนการปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการก่อนและหลังทำการส่งข้อมูล ข่าวสารเรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียนชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูล ข่าวสารผ่าน SMS มีคะแนนเฉลี่ยด้านการปฏิบัติิตนสูงขึ้นและเมื่อนำมาเปรียบเทียบคะแนนการ ปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการก่อนและหลังสั่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS ก็พบว่าคะแนนเฉลี่ยด้านการ ปฏิบัติตน มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลการทดสอบสมมติฐานของคะแนนความรู้เรื่องโภชนาการและคะแนน การปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสารเรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียน ชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS คะแนนความรู้เรื่องโภชนาการมี ความสัมพันธ์เชิงลบกับคะแนนการปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 5) ผลการทดสอบสมมติฐานของคะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการและคะแนน การปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสารเรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียน ชั้นประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS คะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการไม่ มีความสัมพันธ์์กับคะแนนการปฏิบัติตนเรื่องโภชนาการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 6) ผลการทดสอบสมมติฐานของคะแนนความรู้เรื่องโภชนาการและคะแนน ทัศนคติเรื่องโภชนาการหลังทำการส่งข้อมูลข่าวสารเรื่องโภชนาการผ่าน SMS ของนักเรียนชั้น ประถมตอนปลายพบว่า หลังการส่งข้อมูลข่าวสารผ่าน SMS คะแนนความรู้เรื่องโภชนาการไม่มี ความสัมพันธ์์กับคะแนนทัศนคติเรื่องโภชนาการในทางสถิติ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558