พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ ความพึงพอใจและการนำไปใช้ประโยชน์ของคนในกรุงเทพมหานคร
Files
Publisher
Issued Date
2015
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
77 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b193273
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
กฤษณี เสือใหญ่ (2015). พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ ความพึงพอใจและการนำไปใช้ประโยชน์ของคนในกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5422.
Title
พฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ ความพึงพอใจและการนำไปใช้ประโยชน์ของคนในกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
Usage of LINE application, satisfaction and capability for Bangkok citizen
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่น ไลน์ความพึงพอใจและ การนำไปใช้ประโยชน์ ของคนในกรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิง สำรวจ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม โดยมีประชากรเป้าหมายคือผู้ที่มีบัญชีแอพพลิเคชั่นไลน์ ที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร ข้อมูลสำหรับการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลจากตัวอย่าง 399 คน จาก การสุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ใช้ค่าความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานในการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น และใช้สถิติf-Test (One–Way ANOVA) t-Test ผลการศึกษาพบว่า ประชากรในกรุงเทพมหานครมีประสบการณ์ในการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์2 ปี มากที่สุด มีความถี่ในการใช้คือเปิดแอพพลิเคชั่นไลน์ทั้งวัน โดยจะใช้แอพพลิเคชั่นมากกว่า 5 ชั่วโมงต่อวัน ช่องทางที่ใช้แอพพลิเคชั่นไลน์คือ iPhone/ipad ประชากรส่วนใหญ่ใช้ฟังก์ชั่น Chat มากที่สุด และส่วนใหญ่ประชากรที่ใช้แอพพลิเคชั่นเคยโหลด Sticker Line ใน Office Account และใน Sticker Shop ในด้านปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกโหลด Sticker Line พบว่า ส่วนใหญ่ชอบ คาแรคเตอร์ และจะดาวน์โหลด 1 คร้ังต่ออาทิตย์ส่วนความคิดเห็นต่อSticker Line พบว่า ประชากรมีความคิดเห็น ว่า สามารถใช้แทนคำพูด ได้และจะใช้แทนความรู้สึกต่างๆ วัตถุประสงค์ในการใช้งานกลุ่มตวัอย่างมีความคิดเห็นต่อการใช้แอพพลิเคชั่นไลน์ โดย วัตถุประสงค์ที่ใช้จะใช้พูดคุยกับ เพื่อน ในด้านความพึงพอใจ กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็น โดยรวม อยู่ในระดับ มากเช่นกัน พบว่า แอพพลิเคชั่น ใช้งานง่าย การนำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ พบว่า ด้านการสื่อสาร ด้านเวลา ด้านสังคม/การแสดงออก ด้านความบันเทิง และด้านการทำงาน พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นโดยรวมใน ระดับมาก ในด้านการสื่อสาร ใช้เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูล ข่าวสาร และในด้านเวลา สามารถประหยัดเวลาในการติดต่อสื่อสาร นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุระดับการศึกษาอาชีพ และรายได้ เฉลี่ยที่แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการใช้แอพพลิเคชั่น ไลน์ที่ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ ที่ระดับ 0.001
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558