การรับรู้รูปแบบการสื่อสารองค์การ สื่อประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ ที่พยากรณ์ผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Files
Publisher
Issued Date
2018
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
134 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
b203206
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ฉันทกร แก้วเกษ (2018). การรับรู้รูปแบบการสื่อสารองค์การ สื่อประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ ที่พยากรณ์ผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6110.
Title
การรับรู้รูปแบบการสื่อสารองค์การ สื่อประชาสัมพันธ์ และการสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ ที่พยากรณ์ผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
Alternative Title(s)
The predicting between perception of organizat communication, media, organizational culture communication and job performance : a study of corporate in Bangkok
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษา 1) การรับรู้ 2) ความสัมพันธ์และ 3) การ
พยากรณ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสารองค์การ สื่อประชาสัมพันธ์ การสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ
และผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานบริษัทเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 533 คน เก็บข้อมูลโดยใช้การสุ่ม ตัวอย่างแบบตามสะดวกในเดือนมีนาคม 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ออนไลน์ชนิดมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยสหสัมพันธ์เชิงเส้น โดยการทดสอบสมมติฐานใช้ระดับความมี นัยสำคัญ .05
ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีระดับการรับรู้รูปแบบการสื่อสารองค์การ การรับรู้สื่อ ประชาสัมพันธ์และการรับรู้การสื่อสารวัฒนธรรมองค์การภาพรวมอยู่ในระดับบ่อยครั้ง และ พนักงานมีระดับการแสดงพฤติกรรมผลการปฏิบัติงานภาพรวมอยู่ในระดับสม่ำเสมอ 2) การรับรู้ รูปแบบการสื่อสารองค์การ การรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ การรับรู้การสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ และการแสดงผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ 3) ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ ผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 9 ตัวแปรเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ (1) การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ (2) การมุ่งผลสำเร็จของงาน (3) การทำงานร่วมกันเป็นทีม (4) สื่อ กิจกรรม (5) ความสม่ำเสมอ (6) สื่อเบ็ดเตล็ด (7) การจัดองค์การสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม (8) การลด การควบคุม (9) การให้ความสำคัญแก่ภาวะผู้นำ
กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานบริษัทเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 533 คน เก็บข้อมูลโดยใช้การสุ่ม ตัวอย่างแบบตามสะดวกในเดือนมีนาคม 2561 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ออนไลน์ชนิดมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยสหสัมพันธ์เชิงเส้น โดยการทดสอบสมมติฐานใช้ระดับความมี นัยสำคัญ .05
ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีระดับการรับรู้รูปแบบการสื่อสารองค์การ การรับรู้สื่อ ประชาสัมพันธ์และการรับรู้การสื่อสารวัฒนธรรมองค์การภาพรวมอยู่ในระดับบ่อยครั้ง และ พนักงานมีระดับการแสดงพฤติกรรมผลการปฏิบัติงานภาพรวมอยู่ในระดับสม่ำเสมอ 2) การรับรู้ รูปแบบการสื่อสารองค์การ การรับรู้สื่อประชาสัมพันธ์ การรับรู้การสื่อสารวัฒนธรรมองค์การ และการแสดงผลการปฏิบัติงาน มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ 3) ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ ผลการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 9 ตัวแปรเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ (1) การจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ (2) การมุ่งผลสำเร็จของงาน (3) การทำงานร่วมกันเป็นทีม (4) สื่อ กิจกรรม (5) ความสม่ำเสมอ (6) สื่อเบ็ดเตล็ด (7) การจัดองค์การสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม (8) การลด การควบคุม (9) การให้ความสำคัญแก่ภาวะผู้นำ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561