การนำการชะลอการฟ้องมาใช้ในชั้นพนักงานอัยการ: ศึกษากรณีความรุนแรงในครอบครัว
Publisher
Issued Date
2017
Issued Date (B.E.)
2560
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
161 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b198265
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ทิพวัลย์ ด่านบรรจง (2017). การนำการชะลอการฟ้องมาใช้ในชั้นพนักงานอัยการ: ศึกษากรณีความรุนแรงในครอบครัว. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6148.
Title
การนำการชะลอการฟ้องมาใช้ในชั้นพนักงานอัยการ: ศึกษากรณีความรุนแรงในครอบครัว
Alternative Title(s)
The postponement on prosecution by public prosecutor : the study on domestic violence offense
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์หัวข้อ “การนําการชะลอการฟ้องมาใช้ในชั้น พนักงานอัยการ: ศึกษากรณีความรุนแรงในครอบครัว” มีวัตถุประสงค์หาแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม ในพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 โดยให้พนักงาน อัยการใช้การชะลอการฟ้อง กรณีความผิดอาญาที่ไม่ร้ายแรงในคดีความผิดด้วยความรุนแรงใน ครอบครัว โดยการนําเสนอแนวทางปรับปรุงกฎหมายในการนําการชะลอการฟ้องมาปรับใช้ในชั้น ชะลอการฟ้องของพนักงานอัยการในคดีความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัว และหาแนวทางปฏิบัติ ในการควบคุมดุลพินิจและเงื่อนไขการชะลอการฟ้องที่เหมาะสม สําหรับผู้กระทําความผิดตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 ในชั้นชะลอการฟ้องของ พนักงานอัยการ จากการศึกษาพบว่า การบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วย ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 ในความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัวบางกรณีไม่อาจยุติลงได้ จึงทําให้พนักงานอัยการมีความจําเป็นต้องฟ้องคดีตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ซึ่งทําให้มี ปริมาณคดีความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัวมีมากขึ้นโดยไม่จําเป็น และไม่เกิดประโยชน์ต่อ สาธารณะ แนวทางในการแก้ไขปัญหาความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัว ตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 มีความจําเป็นอย่างยิ่งที่ประเทศไทย ต้องมีกระบวนการยุติธรรมทางเลือกอื่น เรียกว่า “การชะลอการฟ้องในชั้นพนักงานอัยการ” มาใช้ เสริมในคดีความผิดด้วยความรุนแรงในครอบครัว เพื่อให้การบังคับใช้ความผิดในพระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560