แนวทางสู่การเงินสีเขียวของกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
Publisher
Issued Date
2022
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
No. of Pages/File Size
6 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
ณัฐจักร์ มีสวาสดิ์
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ณัฐจักร์ มีสวาสดิ์ (2022). แนวทางสู่การเงินสีเขียวของกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6658.
Title
แนวทางสู่การเงินสีเขียวของกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
Alternative Title(s)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ธุรกิจเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินกิจการที่มีผลกำไรเป็นสูงสุดสู่ "ธุรกิจยั่งยืน" ที่ไม่เพียงแค่สร้างผลกำไรสูงสุดหากต้องคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อโลก (planet) ผู้คน (People) และผลกำไร (Profit) โดยการสร้างสมดุลทั้ง 3 แกนหลัก โดยมีปัจจัยที่โลกธุรกิจให้ความสำคัญคือสิ่งแวดล้อม (Environment) สังคม (Social) และธรรมาภิบาล (Governance) ในการดำเนินธุรกิจยั่งยืนนั้นมีแรงขับเคลื่อนจากด้านตลาด การลงทุน พฤติกรรมผู้บริโภค (Market driver) ด้านข้อบังคับ กฎหมาย มาตรฐานทางการค้า (Regulation driver) ด้านการสร้างคุณค่าทางการเงินของ องค์กร ลดความเสี่ยงขององค์กรเป็นข้อมูลการตัดสินใจต่อตลาดทุนและผู้บริโภค (Value Creation) นอกจากนี้ประโยชน์ที่ได้รับจาก "ธุรกิจยั่งยืน" คือการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่มีแนวโน้มให้ความสำคัญกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการดำเนินธุรกิจ ตลาดทุนที่ต้องการลงทุนในธุรกิจที่ยั่งยืน ใส่ใจในผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และการดำเนินงานอย่างมีจริธรรม (ธรรมาภิบาล) จากประโยชน์ที่ได้รับจากการทำธุรกิจยั่งยืนที่กล่าวไปจึงทำให้เกิดการฟอกสีทางธุรกิจทั้งการฟอกเขียว (Green washing) ฟอกชม – รุ้ง (Pink or Rainbow washing) การนำเสนอสินค้า บริการที่ส่งเสริมสิทธิทางเพศร่วมกับการสร้างกระแสของการตลาดสินค้าและบริการประเภทต่าง ๆ ว่าเปิดรับคนทุกเพศหรือเป็นมิตรต่อคนทุกเพศ ขณะที่หลักการในการส่งเสริมสิทธิสตรี และ LGBTO กลับไม่ถูกนำไปผลักดันผ่านทางกฎหมายภายในประเทศ รวมไปถึงการฟอกสีน้ำเงิน (Blue washing) เป็นการฟอกที่แนบเนียน เพราะหมายถึงการกระทำของธุรกิจที่อาศัยการเข้าร่วมเป็นหุ้นส่วนกับองค์การสหประชาชาติ (UN) อันหมายรวมถึงจากภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์การระหว่างประเทศ และภาครัฐ นั้นทำให้ก้าวของการเข้ามาร่วมขบวนรถฟที่เคลื่อนไปสู่ความยั่งยืนได้สร้างภาพลักษณ์ที่เป็นเครื่องมือการันตีความมุ่งมั่น โดยที่แนวปฏิบัติอาจไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ดังนั้นการเปิดเผยตรวจสอบข้อมูลผลลัพธ์ของธุรกิจยั่งยืนจึงมีความสำคัญ ...
Table of contents
Description
การค้นคว้าอิสระ คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2565