กระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์ กรณีศึกษา โพสต์ทูเดย์ และแนวหน้า
Files
Publisher
Issued Date
2019
Issued Date (B.E.)
2562
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
99 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b207812
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วุฒิพร ลิ้มวราภัส (2019). กระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์ กรณีศึกษา โพสต์ทูเดย์ และแนวหน้า. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6417.
Title
กระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์ กรณีศึกษา โพสต์ทูเดย์ และแนวหน้า
Alternative Title(s)
A study of political participation through online media: case study Post Today and Naewna
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์ กรณีศึกษา โพสต์ทูเดย์ และแนวหน้า มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนผ่านสื่อ ออนไลน์ และอิทธิพลของสื่อออนไลน์ที่มีต่อการพัฒนาทางการเมือง โดยใช้ระเบียบวิธีการศึกษา เชิงคุณภาพโดยการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ จัดทำเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์บรรณาธกิารฝ่ายข่าวสาร และประชาชนผู้ตดิ ตามเว็บไซต์ข่าว ออนไลน์ จำนวน 16 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) หนังสือพิมพ์ออนไลน์มีบทบาทและมีส่วนร่วม ทางการเมืองผ่านหนังสือพิมพ์ออนไลน์โดยนำเสนอความจริง ให้ความรู้ เป็นช่องทางการ สื่อสารระหว่างประชาชนกับสื่ออันมีต่อการบริหารทางการเมืองของรัฐบาล และการตรวจสอบ การทำงานของรัฐบาลและผู้นำทางการเมือง สำหรับกระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่าน หนังสือพิมพ์ออนไลน์ พบว่าการคัดกรองข้อมูล จัดการความคิดเห็นของผู้ใช้ ประสานงาน ตรวจสอบกิจกรรมต่าง ๆ และเปิดช่องทางให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นต่อข่าวการเมือง โดย ส่วนใหญ่จะแสดงความเห็นเกี่ยวกับประชาธิปไตย แสดงความคิดเห็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ ตัวแทนทางการเมือง รวมถึงการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางการเมืองอันช่วยเสริมสร้าง วัฒนธรรมประชาธิปไตย 2) อิทธิพลของหนังสือพิมพ์ออนไลน์ที่มีต่อการพัฒนาทางการเมือง พบว่า ปจัจุบนัอิทธิพลของสื่อออนไลน์ที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทางการเมืองเป็นอย่างมาก เนื่องจากโครงสร้างสังคมเปลี่ยนไป โดยมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาในชีวิตประชาชนมากขึ้น ส่งผลทำให้ระบบการเมืองมีการพัฒนาสูง มีการพัฒนาความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น เพราะ เป็นช่องทางในการให้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างต่อเนื่องในปริมาณที่ไม่จำกัด ส่งผลให้พลเมืองมีสิทธิโอกาสและความเท่าเทียมในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารมากขึ้น
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การเมืองและยุทธศาสตร์การพัฒนา))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562