ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ
dc.contributor.advisor | วราภรณ์ วนาพิทักษ์ | th |
dc.contributor.author | ธัญธิดา รัตนวิเชียร | th |
dc.date.accessioned | 2022-06-02T05:52:43Z | |
dc.date.available | 2022-06-02T05:52:43Z | |
dc.date.issued | 2017 | th |
dc.date.issuedBE | 2560 | th |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560 | th |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เรื่องการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะหฺ์ความเหมาะสมและปัญหาการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทาง จอภาพ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศสิงคโปร์ซึ่งจะนําไปสู่บทสรุป และข้อเสนอแนะในการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึน รวมถึงการปรับปรุง พัฒนา ให้การสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพมีความเหมาะสมและมีความ น่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น | th |
dc.description.abstract | ผลจากการศึกษา วิเคราะห์ความเหมาะสมและปัญหาการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะ การประชุมทางจอภาพ พบว่า การสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพยังคงมี ปัญหาเรื่องความน่าเชื่อถือของพยาน ดังนี้ตามความในมาตรา 230/1 แห่งประมวลกฎหมายวิธี พิจารณาความอาญาและข้อบังคับประธานศาลฎีกาว่าด้วยการสืบพยานในลักษณะการประชุมทาง จอภาพ พ.ศ.2556 ไม่มีการกําหนดประเภทของคดีไว้ซึ่งมีความแตกต่างจากหลักเกณฑ์และวิธีการ สืบพยานของต่างประเทศ และการกําหนดผู้เป็นสักขีพยานและสถานที่ในการสืบพยานบุคคล คดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ ในปัจจุบันนั้นส่งผลต่อการสืบพยานบุคคลคดีอาญาใน ลักษณะการประชุมทางจอภาพกล่าวคือมีความน่าเชื่อถือไม่เท่ากับการสืบพยานต่อหน้าจําเลยในห้อง พิจารณาคดี | th |
dc.description.abstract | ดังนั้น จึงควรเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยให้มีการกําหนดประเภทคดีที่ สามารถสืบพยานคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ การกําหนดให้ผู้พิพากษาเป็นสักขีพยาน เพื่อควบคุมดูแลให้การพิจารณาเป็นไปตามระเบียบของประธานศาลฎีกา และกําหนดให้สามารถ สืบพยานคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ ที่ห้องพิจารณาของศาลเท่าน้ัน เพื่อให้การสืบพยาน บุคคลคดีอาญามีความน่าเชื่อถือ และเป็นพยานที่มีน้ําหนักเพียงพอเทียบเท่ากับการสืบพยานในห้อง พิจารณาคดีของศาล | th |
dc.format.extent | 185 แผ่น | th |
dc.format.mimetype | application/pdf | th |
dc.identifier.doi | 10.14457/NIDA.the.2017.180 | |
dc.identifier.other | b201160 | th |
dc.identifier.uri | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5862 | th |
dc.language.iso | tha | th |
dc.publisher | สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
dc.rights | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) | th |
dc.subject | พยานหลักฐานคดีอาญา | th |
dc.subject.other | การสืบสวนคดีอาญา | th |
dc.title | ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการสืบพยานบุคคลคดีอาญาในลักษณะการประชุมทางจอภาพ | th |
dc.title.alternative | Legal problems regarding examining witnesses in criminal cases by video conference | th |
dc.type | text--thesis--master thesis | th |
mods.genre | Thesis | th |
mods.physicalLocation | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา | th |
thesis.degree.department | คณะนิติศาสตร์ | th |
thesis.degree.grantor | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
thesis.degree.level | Masters | th |
thesis.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th |