ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย ปี พ.ศ. 2548-2555
Publisher
Issued Date
2015
Issued Date (B.E.)
2558
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
117 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191158
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สมยศ ประจันบาล (2015). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย ปี พ.ศ. 2548-2555. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6120.
Title
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนไทย ปี พ.ศ. 2548-2555
Alternative Title(s)
Factor affecting changes in the household expenditures in Thailand, 2005-2012
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่าย
ของครัวเรือนโดยวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายใน 2 มิติคือ การเปลี่ยนแปลงระหว่าง
ครัวเรือน และการเปลี่ยนแปลงภายในครัวเรือน การศึกษานี้ใช้ข้อมูลจากโครงการสำรวจเพื่อ
ติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (ใช้ตัวอย่างช้ำ) ตั้งแต่ปี 2548-2555 ของ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ผลการศึกษา พบว่าการใช้จ่ายของครัวเรือนไทยเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ตลอดช่วงปีที่ทำการศึกษาจาก 8,740.83 บาทในปี 2548 เป็น 14,797.62 ในปี 2555 เมื่อ
พิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงการใช้จ่าย พบว่าช่วงปี 2548-2550 มีการเปลี่ยนแปลงประมาณ
15% ซึ่งสูงกว่าช่วงปี 2550 -2553 และช่วงปี 2553-2555 อย่างไรก็ตามพบว่าโครงสร้างการใช้
จ่ายของครัวเรือนในช่วงปีที่ศึกษาไม่มีการเปลี่ยนแปลง ครัวเรือนไทยยังคงให้ความสำคัญกับ
ค่าอาหารเครื่องดื่มและยาสูบเป็นหลัก โดยมีสัดส่วนประมาณ 2 ใน 5 ของการใช้จ่ายทั้งหมด
รองลงมาเป็นหมวดการเดินทางและยานพาหนะ (20%) สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้จ่ายของ
ครัวเรือน ทั้งการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงระหว่างครัวเรือนและภายในครัวเรือน พบว่า รายได้
ของครัวเรือน ภาระพึ่งพิวัยเด็ก ภาระพึ่งพิงวัยสูงอายุ และขนาดของครัวเรือน มีอิทธิพลต่อการ
เปลี่ยนแปลงการใช้จ่ายของครัวเรือนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่อิทธิพลขององค์ประกอบ
ของเพศชาย-หญิงในครัวเรือน และการปรึกษาบุคลากรด้านสุขภาพของสมาชิกในครัวเรือนไม่มี
นัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่าการวิเคราะห์ใน 2 มิติดังกล่าวให้ผลที่แตกต่างกัน ดังนี้ การ
มีสุขภาพที่ทรุดโทรมลง และ การมีงานทำของสมาชิกในครัวเรือน ส่งผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ต่อการเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่ายเฉพาะระหว่างครัวเรือนและเฉพาะภายในครัวเรือน ตามลำดับ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558