Communities in DSpace
Select a community to browse its collections.
Recent Submissions
Item
THE EFFECTS OF ICT/E-GOVERNMENT ON MIGRANT WORKERS' REMITTANCE INFLOWS IN BANGLADESH: AN EMPIRICAL STUDY
(National Institute of Development Administration, 3/6/2023) Anchana NaRanong; อัญชนา ณ ระนอง; National Institute of Development Administration. School of Public Administration
Migrant workers’ remittance is one of the most important sources of foreign currency and it promotes economic growth and addresses the unemployment issues of developing countries like Bangladesh. This research has explored and examined the effects of the use of ICT/e-Government measures along with some other significant socioeconomic and political factors on remittance inflows. So far, the effects of Information and Communication Technology (ICT) and e-Government measures on remittance inflows have not been explored adequately in the case of Bangladesh. The literature review reports that there are direct and indirect effects of the use of ICT/e-Government along with the unemployment rate, the inflation rate, institutional quality, the number of recruiting agencies, the number of banks and financial institutions, financial inclusion and financial development, remittance transaction cost, cash incentives and the use of formal channels, as well as the currency exchange rate. On the other hand, the ICT-driven recruitment process and recruitment cost, along with the National ICT Policy and Overseas Employment Policy may also play roles in remittance inflows. The effects of ICT/e-Government measures along with other factors have been examined using a mixed methods (MM) approach.
A survey was conducted using a structured questionnaire with a sampling unit organizations and having sample size of 369; sample size was determined using Yamane’s formula and the stratified sampling technique was adopted. After data examination, a total of 336 valid samples were used for SEM analysis. AMOS software was employed for the quantitative analysis of the survey data. Moreover, secondary data from the World Bank and other institutions were collected for regression analyses through the use of model equations and using SPSS. A total of 12 persons involved in 12 different organizations were interviewed to collect qualitative data for the thematic analysis; the analysis was conducted using NVIVO.
After testing the hypotheses, validity, and reliability, and after triangulation of quantitative and qualitative findings, it has been found that the use of ICT/e-Government measures along with some other factors has a significant positive effect on the remittance inflows of Bangladesh. Nonetheless, the effects of the number of recruiting agencies, remittance transaction cost, the recruitment process and recruitment cost on the remittance inflows have not matched with the research hypotheses.
This research concludes with a set of recommendations suggesting policy initiatives to reduce remittance transaction cost and recruitment cost by using ICT/e-Government measures effectively, by skill development measures and through bilateral agreements; these initiatives would help to increase remittance inflows.
Item
ปัจจัยเชิงเหตุ ด้านจิตลักษณะ สถานการณ์ และการรับรู้ปทัสถานที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติ และการยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในนักศึกษาปริญญาตรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015) วิลาวัลย์ คล้ายประยงค์; ดุจเดือน พันธุมนาวิน
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาทัศนคติ และ การยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในนักศึกษาปริญญาตรี ในด้านการประเมินค่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ความรู้สึกต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ความพร้อมที่จะยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ว่ามีปริมาณแตกต่างกันมากน้อยเพียงใดการวิจัยเรื่องนี้ เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาความสัมพันธ์เปรียบเทียบ ซึ่งมีกรอบแนวคิดฟื้นฐานในการวิจัยมาจากรูปแบบทฤษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม ตลอดจนทฤษฎีและหลักการที่สำคัญทางจิตวิทยา ทั้งในประเทศละต่างประเทศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ คือ นักศึกษาปริญญาศรี ชั้นปีที่ 3 และปีที่ 4 จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นกำหนดโควต้า ได้จำนวนทั้งสิ้น 498 คน เป็นเพศชาย 193 คน เพศหญิง 305 คน มีอายุเฉสี่ย 21 ปี 3 เดือน ตัวแปรในการวิจัยนี้ประกอบด้วย 6 กลุ่ม ได้แก่ จิตลักษณะ 2) สถานการณ์ 3) การรับรู้ปทัสถานด้าน โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 4) ทันคติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 5) การยอมรับโรงไฟฟ้าานิวเคลียร์ และ 6) ลักษณะชีวสังคมภูมิหลัง แบบวัดส่วนใหญ่เป็นแบบวัดมาตรประเมินรวมค่า
ผลการวิจัยที่สำคัญ ประการแรก ผลการวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า การรับรู้ ปทัสถานจากผู้ปกครองเป็นตัวทำนายที่สำคัญที่สุด ในการทำนายทันคติที่ดีต่อ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (การประเมินค่า โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ความรู้สึกที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และความพร้อมที่จะยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์) และตัวทำนายที่สำคัญรองลงมา ได้แก่ ความรู้ด้านโรงไฟฟ้านิเคลียร์ทั่วไป และการรับรู้ปทัสถานจากเพื่อน
ประการที่สอง ปัจจัยด้านจิตลักษณะ ร่วมกับสถานการณ์ และการรับรู้ปทัสถานด้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และทัศนติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ รวม 15 ตัวแปร พบผลทำนายของกลุ่มที่มีความสำคัญต่อการยอมรับโรงไฟฟ้าานิวเคลียร์ ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาเพศหญิง กลุ่มนักศึกษาชั้นปีที่ 4 กลุ่มนักศึกษาที่มีอายุน้อย กลุ่มนักศึกษาที่มารดามีระดับการศึกษาน้อย และกลุ่มนักศึกษาที่บิดามีระดับการศึกษาน้อย ตามลำดับ
สำหรับผลทำนายของกลุ่มที่มีความสำคัญต่อความเห็นด้วยในการก่อตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในหมู่บ้านที่เป็นภูมิลำเนาเดิม และในปริมณฑลรอบกรุงเทพฯ ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาเพศหญิง กลุ่มนักศึกษาชั้นปีที่ 4 กลุ่มนักศึกษาที่บิดามีระดับการศึกษาน้อย และกลุ่มนักศึกษาที่มารดามีระดับการศึกษาน้อย ตามลำดับ
ประการที่สาม จากการวิเคราะห์อิทธิพลเชิงเส้น พบว่า :) ตัวแปรความรู้ค้าน โรงไฟฟ้าานิเคลียร์มีอิทธิพลทางตรงต่อ ตัวแปรการรับรู้ปทัสถานด้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ และตัวแปรทัศนคติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ค่าสัมประสิทธิอิทธิพลท่ากับ .793 และ .459 ตามลำดับ) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อ การยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ผ่านทัศนคติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ค่าสัมประสิทธิอิทธิพลเท่ากับ .139) 2) ตัวแปรจิตลักษณะ มีอิทธิพลทางตรงไปยัง ตัวแปรทัศนคติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (คำสัมประสิทธิอิทธิพลเท่ากับ .273) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อ การยอมรับโรงไฟฟ้าานิวเคลียร์ ผ่านทัศนคติที่ดีต่อโรงไฟนิวเคลียร์ (ค่าสัมประสิทธิอิทธิพลเท่ากับ .103) 3) ตัวแปร สถานการณ์ มีอิทธิพลทางตรงไปยัง ตัวแปร ทันคติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ค่าสัมประสิทธิอิทธิพลเท่ากับ .184) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อ การยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ผ่านทัศนติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ค่าสัมประสิทธิอิทธิพลเท่ากับ .069) 4) ตัวแปรการรับรู้ปทัสถานด้านโรงไฟฟ้านิวเคลียร์มีอิทธิพลทางตรงไปยัง ตัวแปรทันติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ค่าสัมประสิทธิอิทธิพลเท่ากับ .462) และมีอิทธิพลทางอ้อมต่อ การยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ผ่านทัศนคติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์(ค่าสัมประสิทธิอิทธิพลเท่ากับ .175) 5) ตัวแปร ทัศนคติที่ดีต่อโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ มีอิทธิพลทางตรงไปยัง ตัวแปรการยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ (ค่าสัมประสิทธิอิทธิพลเท่ากับ .378)
ข้อเสนอแนะการปฏิบัติเพื่อการพัฒนานั้น พบว่า ตัวแปรที่มีความสำคัญอย่าง มากต่อการยอมรับโรงนิ วเคลียร์ คือ การรับรู้ปทัสถาน จากผู้ปกครอง และการรับรู้ปทัสถาน จากเพื่อนและความพร้อมที่จะยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้บุคคลที่มีบทบาทต่อการรับรู้ปทัสถานด้าน โรง ไฟฟ้านิวเคลียร์ของนักศึกษา เช่น ผู้ปกครอง และเพื่อนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ให้ความสำคัญกับการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับเทคโนโลยีนิวเคลียร์เพื่อเป็นแบบอย่างด้านการมีทัศนคติที่ดี และมีการยอมรับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ต่อไป
Item
เครือข่ายการสื่อสารโครงการผูกปิ่นโตข้าวกับการพัฒนาศักยภาพตลาดทางเลือกของกลุ่มทำนาเลิกเคมี จังหวัดอ่างทอง
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015) ณภัสนันท์ อำไพ; กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาการสร้างเดรือข่ายการสื่อสารของโดรงการผูกปิ่นโตข้าว กับกลุ่มทำนาเลิกเดมื จังหวัดอ่างทอง ศึกษากลยุทธ์การสื่อสารของโดรงการผูกปิ่นโตข้าวเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม รวมถึงตึกษาปัจจัยของโดรงการผูกปิ่นโตข้าวที่ส่งผลให้กลุ่มทำนาเลิกเดมี จังหวัดอ่างทอง เกิดการพัฒนาศักยภาพตลาดทางเลือก งานวิจัยนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การศึกษาจากเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การศึกษาแบบสัมภาษณ์เชิงลึก และการเข้าร่วมสังเกตการณ์อย่างไม่มีส่วนร่วม
ผลการวิจัยพบว่า การสร้างเครือข่ายการสื่อสารของโครงการผูกปิ่นโตข้าว กับกลุ่มทำนาเลิกเดมี จังหวัดอ่างทอง ประกอบตัวยสมาชิก 3 กลุ่มหลัก คือ แกนนำผู้ก่อตั้งโครงการผูกปิ่นโตข้าว ("แม่สื่อ") กลุ่มทำนาเลิกเดมี จังหวัดอ่างทอง ("เจ้าบ่าว" และผู้บริโภค ("เจ้าสาวๆ)โดยมีการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผ่านสื่อสังคมออนไลน์อย่าง เฟซบุ๊กที่เป็นสื่อกลางประชาสัมพันธ์โครงการ และไลน์ที่ใช้เป็นสื่อกลางในการสื่อสารระหว่างกลุ่ม รวมถึงการสื่อสารแบบเผชิญหน้าอย่าง การเยี่ยมเยืยนนาของผู้ซื้อข้าว และการประชุมร่วมกัน การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันระหว่างกลุ่มทำให้เกิดเครือข่ายที่มืองค์ประกอบสำคัญคือ 1) การรับรู้มุมมองร่วมกัน 2) การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน 3) การมีผลประโยชน์และดวามสนใจร่วมกัน 4) การเสริมสร้างซึ่งกันและกัน และ 5) การมีปฏิสัมพันธ์เชิงแลกเปลี่ยน สำหรับกลยุทธ์การสื่อสารของโครงการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม มี 4 ประเด็นสำคัญ คือ กลยุทธ์ด้านผู้ส่งสาร กลยุทธ์ด้านการวิเคราะห์ผู้รับสารกลยุทธ์ด้านการออกแบบสาร และกลยุทธ์ด้านการใช้สื่อ กลยุทธ์การสื่อสารดังกสาวสามารถดึงดูดความสนใจให้เกิดการเข้าร่วมโครงการ รของสมาชิกและเป็นตัวเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันในเครือข่าย ส่วนปัจจัยของโดรงการผูกปิ่นโตข้าวที่ส่งผลให้กลุ่มทำนาเลิกเดมี จังหวัดอ่างทองเกิดการพัฒนา คือ ปัจจัยด้านความมีจิตอาสา ปัจจัยด้านการรวมตัวเป็นเครือข่าย และปัจจัยด้านการใช้สื่อ โดยปัจจัยดังกล่าวมานี้ส่งผลให้เกิดดวามสัมพันธ์ที่เกื้อกูลกันระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภด และการค้าขายที่เป็นธรรมซึ่งสอดดล้องตามแนวทางตลาดทางเลือก
Item
กลยุทธ์การสื่อสารของศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลด์ สำโรง ที่ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างศูนย์การค้าและชุมชน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015) สุพิชญา เลิศประภานนท์; กุลทิพย์ ศาสตระรุจิ
การวิจัยเรื่อง กลยุทธ์การสื่อสารของศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลด์ สำโรง ที่ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างศูนย์การค้าและชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาโน 3 ประเด็น 1) เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารภายในองค์กรของศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลด์ สำโรง ที่ทำให้คนในองค์กรรับรู้นโยบายการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร 2) เพื่อศึกษาการใช้กลยุทธ์ของศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลด์สำโรง ที่ทำให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างศูนย์การค้าฯ และชุมชน 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้คนในองค์กรและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมเชิงสังคมของศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลด์ สำโรง
งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษา 2 รูปแบบ ได้แก่ กรศึกษาจากรายงานประจำปีของ วิจัยเอกสาร ได้แก่ เอกสารรายงานประจำปีของศูนย์การค้าฯ ข้อมูลชุมชนจากเว็บไซต์ของเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้ให้ข้อมูล 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 ผู้บริหารของศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลต์ สำโรง จำนวน 3 ท่าน กลุ่มที่ 2 ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในโครงสร้างการบริหารจัดการทีมอิมพีเรียลจิตอาสา จำนวน 4 ท่าน กลุ่มที่ 3 ที่มอิ่มพีเรียลจิตอาสา ได้แก่ คนในองค์กร และคนในชุมชนที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมเชิงสังคมของศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลด์ สำโรง อย่างน้อย 2 โครงการจำนวน 5 ท่าน
ผลการวิจัยพบว่า
1) ศูนย์การค้าอิมพีเรียล เวิลด์ สำโรง มีรูปแบบการสื่อสารภายในองค์กร 2 แบบ ได้แก่ 1) แบบเดิม คือ การสื่อสารแบบบนลงล่าง ผ่านการประชุมประจำเดือน 2) แบบใหม่ คือ การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม ผ่านทางรายการวิทยุภายในองค์กร คือ "IM RADIO " อีกทั้งยังมีสื่อกิจกรรมภายในองค์กร ได้แก่ กิจกรรมทำบุญวันเกิดพนักงาน กิจกรรมกีฬาสานสัมพันธ์ และสื่อสังคมออนไลน์ ได้แก่ ไลน์กลุ่มภายในองค์กร ทั้งนี้ การสื่อสารทั้งหมดมีการสร้างการมีส่วนร่วมระหว่างผู้บริหารและพนักงานภายในองค์กร และยังมีเนื้อหาที่เน้นสร้างจิตสำนึกแห่งความรับผิดชอบให้แก่พนักงาน 2) ศูนย์การค้าฯ ใช้กลยุทธ์การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน โดยใช้ "สื่อบุคคล" ภายในองค์กรเข้าไปทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน โดยได้สร้างกลุ่มตัวแทนขึ้นมาในชื่อ "ทีมอิมพีเรียลจิตอาสา"โดยเริ่มจากพนักงานเพราะพนักงานในองค์กรส่วนใหญ่เป็นคนในชุมชน ทำให้มีความผูกพันกับชุมชนและมีความรักในพื้นที่ทำให้สามารถร่วมกันนำเสนอปัญหาและแนวทางการแก้ไขได้เป็นอย่างดี เพราะได้รับความไว้วางใจจากคนในชุมชน 3) ปัจจัยที่ทำให้คนในองค์กรและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมเชิงสังคมของศูนย์การค้าฯ พบว่า ปัจจัยด้านองค์กร มีส่วนสำคัญที่ทำให้ชุมชนมาร่วมกิจกรรม เพราะองค์กรมีชื่อเสียงและมีความสัมพันธ์กับชุมชนมาเป็นเวลายาวนาน ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคม พบว่า บริบทชุมชนมีความต้องการ (Need) ให้ชุมชนมีการพัฒนา และปัจจัยด้านการสื่อสาร พบว่า สื่อที่มีประสิทธิภาพที่สุด คือ สื่อบุคคล ได้แก่ ผู้บริหารของศูนย์การค้าฯ และผู้นำชุมชน รองลงมาคือ สื่อกิจกรรม ในขณะที่สื่อที่มีประสิทธิภาพน้อย คือ สื่อออนไลน์
Item
การวิเคราะห์ปัจจัยด้านความยั่งยืนของภาคธุรกิจ กรณีศึกษา บริษัท ไทยฟู๊ดส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022) ธารากร แสงสุระธรรม; วิชชุดา สร้างเอี่ยม
อุตสาหกรรมอาหารประเภทเนื้อสัตว์สดและแปรรูป เป็นธุรกิจที่เปิดกว้างและมีการแข่งขันที่สูง
โดยองค์กรขนาดใหญ่ในภาคธุรกิจนี้ พยายามขยายความได้เปรียบที่ผู้บริโภคเข้าถึงได้สะดวก และรุกคืบสู่
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายด้วยนวัตกรรมและเครือข่ายที่ครอบคลุม การอยู่รอดของธุรกิจในลำดับรอง
จึงจำเป็นต้องมีนวัตกรรมในพัฒนาธุรกิจและความมุ่งมั่นเพื่อสร้างความยั่งยืนอย่างต่อเนื่อง
บริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) TFG ถือเป็นอีกหนึ่งผู้เล่นในตลาดที่ทำงานเชิงรุกและได้รับ
การยอมรับด้วยดี โดยใช้ฐานความแข็งแกร่งขององค์กรที่มีมาแต่เดิม ด้วยพื้นฐานรายได้องค์กรมาจากธุรกิจไก่
และสุกร ที่ได้การสนับสนุนทั้งจากธุรกิจอาหารสัตว์ และการวิจัยพัฒนาด้านเวชภัณฑ์/พันธุวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
และการเพิ่มช่องทางสู่การเป็นธุรกิจร้านค้าปลีก (B2C) จึงได้มีการส่งเสริมนวัตกรรมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
เพื่อส่งมอบคุณค่าสู่ผู้บริโภคโดยตรง เป็นผลให้รายได้และกำไรในปี 2565 ที่ผ่านมาเป็นไปแบบก้าวกระโดด
จึงได้มีการต่อยอดเป้าหมายในการขยายสาขาให้มากขึ้น ให้เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคที่กระจายไปยังหัวเมืองในส่วน
ภูมิภาคมากขึ้น
เมื่อสืบค้นเพิ่มเติมพบว่า ในปี 2564 นั้น เป็นปีที่มีรายได้สูงขึ้นแต่สัดส่วนกำไรลดลง เนื่องจาก
เป็นปีที่มีการเริ่มต้นลงทุนในการวางรากฐานเพื่อการขับเคลื่อนธุรกิจอย่างยั่งยืนด้วย ESG (Environment, Social and
Corporate Governance) ที่ส่วนหนึ่งเป็นการบริหารจัดการภายในองค์กร ส่วนหนึ่งเชื่อมโยงสู่เกษตรพันธสัญญา
และคู่ค้า ส่วนหนึ่งสู่สังคมส่วนรวมและชุมชนโดยรอบ และอีกส่วนเป็นการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านสิ่งแวดล้อม
และพลังงาน จึงเสมือนเป็นการย่อตัวที่จะก้าวกระโดดขององค์กร
กลยุทธ์ที่ TFG ใช้ในการขับเคลื่อนการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน เป็นการกำกับดูแลกิจการที่ดีร่วมกับ
หลักการด้านสิ่งแวดล้อมและสังคม ที่ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย สร้างคุณค่าในทางธุรกิจของ
องค์กรและสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพื่อที่จะส่งเสริมให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างยั่งยืน ภายใต้การดำเนิน
กิจการที่โปร่งใส โดยในงานวิจัยนี้ พบว่ามี 3 กลจักรผลักดันให้กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ คือ การที่มีผู้บริหารรุ่นใหม่
เข้ามาเสริมสร้างกลยุทธ์และการตลาด การมี TFG DNA ในการสร้างจริยธรรมองค์กรให้เข้มแข็ง และความพร้อม
ของธุรกิจที่สนับสนุนความยั่งยืนขององค์กร
ในการวิเคราะห์ปัจจัยด้านความยั่งยืนในงานวิจัยนี้ พบว่า การพิจารณาเฉพาะเอกสาร อย่างรายงาน
ความยั่งยืน และรายงานประจำปี (แบบ 56-1 One Report) อาจได้รับข้อมูลจำเพาะที่เสนอขององค์กรเท่านั้น
ทว่าการเข้าถึงข้อมูลที่นักลงทุนจะได้รับจากตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย SET ในฐานะหน่วยงานกลาง
ใช้อ้างอิงเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจด้านความยั่งยืนขององค์กร (SETTHS) กลับพบว่า TFG ไม่เข้าข่าย
ในการเข้าสู่การจัด ESG Score by ESG book อันสะท้อนถึงข้อมูลในเบื้องลึก ที่ TFG ควรมีการปรับตัว
ให้มากยิ่งขึ้นกว่าเดิม
แต่จากการสืบค้นเพิ่มเติมในส่วนของ ESG Score นั้น ได้แจ้งชัดเจนว่า เป็นระดับ Rating ของปัจเจก
ที่ไม่สามารถนำไปใช้เปรียบเทียบกันได้ ขึ้นอยู่กับการให้ขอบเขตและวิธีการของแต่ละองค์กรเท่านั้น ทั้งนี้หากองค์กร
จะเสนอข้อมูลประกอบในขอบเขตเพียงบางส่วนที่ได้ดำเนินการและเข้าเงื่อนไขรับ Score ใน ESG แล้ว จะส่งผลให้
ได้รับ Rating ที่สูง ทำให้สามารถใช้อ้างอิงเทียบถึง ESG Score ของทั้งองค์กรได้ในที่สุด ถือเป็นการบิดเบือนหรือให้
ข้อมูลไม่ครบถ้วนด้วยส่วนหนึ่ง
ดังนั้นในงานวิจัยนี้ จึงได้ทำการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบปัจจัย ESG โดยเลือกใช้เครื่องมือที่ละเอียด
และเจาะลึกมากขึ้นจก Integrated Ratio Guideline ESG and Combined Financial and Non-Financial
Ratios เทียบกับอีก 2 องค์กรที่มีรูปแบบธุรกิจในลักษณะเดียวกันได้ กระทั่งการแปรออกมาถ่วงน้ำหนักให้สามารถ
เทียบเคียงกัน พบว่า บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) CPF หรือเครือเจริญโภคภัณฑ์ มีค่าผลการ
ประเมินสูงที่สุดในทุกหมวด ลดลั่นลงมา คือ บริษัท จีเอฟพีที จำกัด (มหาชน) GFPT และ TFG ยิ่งเป็นการยืนยันที่
ควรมีการพิจารณาถึงความพร้อม ความครบถ้วน และความสมบูรณ์ในการดำเนินกิจการ เพื่อความยั่งยืนขององค์กร
ต่อเนื่องจากที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ซึ่ง TFG ถือว่าขยับตัวที่จะเข้ามาขับเคลื่อนด้านความยั่งยืนที่ล่าช้ากว่าคู่แข่ง และ
ด้วยการผสมผสานของผู้บริหารรุ่นใหม่ และคลื่นกระแส ESG ที่มีส่วนในการปรับกระบวนทัพให้ต้องเร่งปรับเปลี่ยน
และลงทุนวางรากฐานด้านความยั่งยืนขององค์กร พร้อมกันกับการขยายวางตำแหน่งทางการตลาดสู่ธุรกิจร้านค้าปลีก
เพื่อเป็นแหล่งส่งมอบคุณค่าสู่ผู้บริโภครายย่อยโดยตรง และได้รับการตอบรับด้วยดี กระทั่งเป็นผลให้มีรายได้สูงขึ้น
แบบก้าวกระโดดในปี 2565 และวางเป้าหมายที่จะผลักดันธุรกิจส่วนนี้เป็นหัวจักรในการขับเคลื่อนดึงส่วนธุรกิจส่วน
อื่นๆ ร่วมกันด้วย และจากการวิเคราะห์เหลียวหลังแลหน้า พบว่า TFG ได้มีการดำเนินการด้าน ESG มามุ่งมั่น เท่าที่
มีตามเงื่อนไขเวลาที่ตามคู่แข่งทางธุรกิจ ดังนั้นจึงได้จัดทำเป็นข้อเสนอแนะเพิ่มเติมสู่องค์กร ทั้งในระดับภาพรวม
และระดับรายธุรกิจ แยกเป็นประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม ด้านบรรษัทภิบาล และด้านการตลาด ตามที่ได้มี
การศึกษาในรายงานวิจัยนี้
การวิเคราะห์ปัจจัยความยั่งยืนทางธุรกิจ โดยใช้แนวทาง ESG ถือเป็นรูปแบบที่ได้รับการยอมรับทาง
ภาคธุรกิจ โดยเฉพาะในตลาดทุน แต่การนำ ESG มาพัฒนาใช้งานของแต่ละประเทศมีรายละเอียดที่ปรับเปลี่ยน
ยืดหยุ่นแตกต่างกัน ซึ่งโดยรวมนั้น จะวางหลักการไว้จากการจัดทำนโยบายที่ผู้บริหารองค์กรเป็นหัวจักรในการ
ขับเคลื่อนและใช้ความร่วมมือกันกับความเป็นไปได้และความเหมาะสม
หลายองค์กรธุรกิจของประเทศไทยได้ก้าวข้ามกระบวนการภายใน สู่การรับรองระดับสากลที่อาจมา
จากรูปแบบธุรกิจที่ขยายเกี่ยวพันในวงกว้างขึ้น นวัตกรรมด้านการกำหนดปัจจัยความยั่งยืนขององค์กรก็ได้รับการ
ผลักดันให้เทียบเท่าเทียมกับหลักการและมาตรฐานที่รับรองนั้นๆ เพิ่มเติมด้วย
ในส่วนของงานวิจัยนี้ ได้รับการส่งมอบความครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยที่ตั้งไว้ ทั้งในส่วน
ของการขับเคลื่อนความยั่งยืนขององค์กร ที่พบว่า TFG นั้น มี 3 ปัจจัยสนับสนุนสู่ความสำเร็จ คือ การที่มีผู้บริหาร
ที่เป็นคนรุ่นใหม่เข้ามาเสริม การมี TFG DNA และโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนความยั่งยืนที่เข้มแข็ง ต่อมาคือ
การเปรียบเทียบกับ 2 องค์กร คือ GFPT และ CPF ยิ่งทำให้ทราบถึงส่วนที่ควรต่อเติมให้สมบูรณ์และประเด็นที่
ควรมีให้ครบถ้วน จากนั้นจึงได้จัดทำข้อเสนอแนะต่อ TFG ทั้งในภาพรวมระดับองค์กร และในระดับรายธุรกิจ โดย
ใช้แนวทาง ESG และแนวทางการตลาด เพื่อเสนอให้ TFG สู่ความมั่นคงและยั่งยืนตลอดไปนั่นเอง
Item
คู่มือการสืบค้นคลังปัญญา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
(สำนักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2023-10) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
คู่มือฉบับนี้เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นสำหรับผู้ใช้งานปลายทาง (End users) เพื่อประกอบการเรียกดูและค้นหาข้อมูลในระบบคลังปัญญาของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เนื้อหาในคู่มือประกอบด้วย วิธีการเรียกดูข้อมูล วิธีการค้นหาข้อมูล วิธีกรองผลการค้นหา รูปแบบการแสดงผลข้อมูล และวิธีเข้าถึงเอกสารฉบับเต็ม
Item
แนวทางสู่การเงินสีเขียวของกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022) ณัฐจักร์ มีสวาสดิ์; วิชชุดา สร้างเอี่ยม
ธุรกิจเปลี่ยนรูปแบบการดำเนินกิจการที่มีผลกำไรเป็นสูงสุดสู่ "ธุรกิจยั่งยืน" ที่ไม่เพียงแค่สร้างผลกำไรสูงสุดหากต้องคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อโลก (planet) ผู้คน (People) และผลกำไร (Profit) โดยการสร้างสมดุลทั้ง 3 แกนหลัก โดยมีปัจจัยที่โลกธุรกิจให้ความสำคัญคือสิ่งแวดล้อม (Environment) สังคม (Social) และธรรมาภิบาล (Governance) ในการดำเนินธุรกิจยั่งยืนนั้นมีแรงขับเคลื่อนจากด้านตลาด การลงทุน พฤติกรรมผู้บริโภค (Market driver) ด้านข้อบังคับ กฎหมาย มาตรฐานทางการค้า (Regulation driver) ด้านการสร้างคุณค่าทางการเงินของ องค์กร ลดความเสี่ยงขององค์กรเป็นข้อมูลการตัดสินใจต่อตลาดทุนและผู้บริโภค (Value Creation) นอกจากนี้ประโยชน์ที่ได้รับจาก "ธุรกิจยั่งยืน" คือการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่มีแนวโน้มให้ความสำคัญกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และการดำเนินธุรกิจ ตลาดทุนที่ต้องการลงทุนในธุรกิจที่ยั่งยืน ใส่ใจในผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และการดำเนินงานอย่างมีจริธรรม (ธรรมาภิบาล) จากประโยชน์ที่ได้รับจากการทำธุรกิจยั่งยืนที่กล่าวไปจึงทำให้เกิดการฟอกสีทางธุรกิจทั้งการฟอกเขียว (Green washing) ฟอกชม – รุ้ง (Pink or Rainbow washing) การนำเสนอสินค้า บริการที่ส่งเสริมสิทธิทางเพศร่วมกับการสร้างกระแสของการตลาดสินค้าและบริการประเภทต่าง ๆ ว่าเปิดรับคนทุกเพศหรือเป็นมิตรต่อคนทุกเพศ ขณะที่หลักการในการส่งเสริมสิทธิสตรี และ LGBTO กลับไม่ถูกนำไปผลักดันผ่านทางกฎหมายภายในประเทศ รวมไปถึงการฟอกสีน้ำเงิน (Blue washing) เป็นการฟอกที่แนบเนียน เพราะหมายถึงการกระทำของธุรกิจที่อาศัยการเข้าร่วมเป็นหุ้นส่วนกับองค์การสหประชาชาติ (UN) อันหมายรวมถึงจากภาคประชาสังคม ภาคเอกชน องค์การระหว่างประเทศ และภาครัฐ นั้นทำให้ก้าวของการเข้ามาร่วมขบวนรถฟที่เคลื่อนไปสู่ความยั่งยืนได้สร้างภาพลักษณ์ที่เป็นเครื่องมือการันตีความมุ่งมั่น โดยที่แนวปฏิบัติอาจไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ดังนั้นการเปิดเผยตรวจสอบข้อมูลผลลัพธ์ของธุรกิจยั่งยืนจึงมีความสำคัญ ...
Item
กลยุทธ์การสื่อสารของผู้ทรงอิทธิพลทางความคิดในโลกออนไลน์ที่มีผลต่อทัศนคติของกลุ่มผู้ติดตาม
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015) รัฐญา มหาสมุทร; วรัชญ์ ครุจิต
การวิจัยครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ 8) เพื่อศึกษาถึงกลยุทธ์การสื่อสารออนไลน์ของผู้ทรง
อิทธิพลในโลกออนไลน์ที่มีต่อกลุ่มผู้ติดตาม 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ของผู้
ติดตามที่ติดดามกลุ่มผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์ 3) เพื่อศึกษาถึงผลกระทบของผู้ทรงอิทธิพล
ในโลกออนไลน์ที่มีต่อกลุ่มผู้ติดตาม
โดยศึกษาด้วยการวิจัยชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์ชิงลึกผู้ทรงอิทธิพลในโลกออน ไลน์
จำนวน 6 คน แบ่งเป็นหมวดผลิตภัณฑ์ความงาม จำนวน 3 คน หมวดร้านอาหารและการท่องเที่ยว
จำนวน 3 คน และกลุ่มผู้ติดตาม จำนวน 12 คน แบ่งเป็นหมวดผลิตภัณฑ์ความงาม จำนวน 6 คน
หมวดร้านอาหารและการท่องเที่ยว จำนวน 6 คน
ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์การสื่อสารออนไลน์ของผู้ทรงอิทธิพลใน โลกออนไลน์ มีการ
นำเสนอผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น รูปภาพ บทความ หรือคลิปวิดีโอ โดย
ภาษาที่ใช้เป็นภาษาที่่ง่ายต่อการเข้าใจ ในการจัดทำเนื้อหานั้นจะต้องเป็นเรื่องที่มีความรู้ความ
เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ตรง นำเสนอข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา มีทั้งข้อดีและข้อเสียเพื่อเป็น
การประกอบการตัดสินใจให้กับกลุ่มผู้ติดตาม
จากการวิจัยในส่วนของพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์ของกลุ่มผู้ติดตามนั้น พบว่ากลุ่ม
ผู้ติดตามมีการเลือกเปิดรับสื่อเฉพาะเรื่องที่ตนเองให้ความสนใจ และมีการอธิบายเนื้อหาอย่าง
ละเอียด สำหรับรูปแบบในการนำเสนอข้อมูลที่ได้รับความสนใจเป็นพิเศษนั้น ส่วนใหญ่จะเป็น
รูปภาพและบทความมากกว่าคลิปวิดีโอ เนื่องจากว่ารูปภาพสร้างแรงดึงดูดและดูนำสนใจกว่า ส่วน
ผู้ติดตามบางท่านให้ความสนใจกับคลิปวิดีโอโดยขึ้นอยู่กับเนื้อหาที่นำเสนอ การร่วมกิจกรรมกับผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์ทำให้ผู้ติดตามรู้สึกว่ใกลัชิดสนิทสนม ทำให้เกิดความเชื่อใจและไว้วางใจในตัวผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์ ซึ่งทำให้มีผลในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าหรือบริการของกลุ่มผู้ติดตาม
จากการวิจัยพบว่าผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์ยังสามารถสร้างแรงจูงใจให้เกิดการคล้อย
ตามและตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการได้ ผู้ติดตามส่วนใหญ่มีการคล้อยตามเมื่อได้อ่านรีวิวจากทาง
ผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์ ซึ่งกลุ่มผู้ทรงอิทธิพลในโลกออนไลน์มักจะนำเสนอเนื้อหาที่กำลัง
เป็นกระแสหรือเป็นเรื่องราวที่ใหม่ที่หลายๆ คนให้ความสนใจโดยหลังจากที่เนื้อหาเหล่านั้นได้เริ่ม
เผยแพร่ออกไปทางสื่ออนไลน์ต่าง ๆ ที่เป็นช่องทางการสื่อสารของผู้ทรงอิทธิพลใน โลกออนไลน์
ก็จะเริ่มเกิดเป็นกระแสการบอกต่อของกลุ่มผู้ติดตาม
Item
มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมและควบคุมอาคารสีเขียว
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015) วิธวัฒน์ บัวเผื่อน; พัชรวรรณ นุชประยูร
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อความคิดทั่วไปเกี่ยวกับอาคารสีเขียว
ความหมายและสภาพปัญหาเกี่ยวกับอาคารสีเขียว ศึกษาแนวคิด นโยบายและมาตรการทางกฎหมาย
ในการส่งเสริมและกำกับดูแลอาคารสีเขียว ศึกษาถึงปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาข้อกฎหมายใน
การส่งเสริมและกำกับดูแลอาคารสีเขียว และหาบทสรุปและข้อเสนอแนะ ให้หน่วยงานที่มีหน้าที่
เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาข้อกฎหมายในการส่งเสริมและกำกับดูแลอาคารสีเขียว
ปัจจุบันประเทศไทย ยังไม่มีบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอาคารสีเขียวไว้
โดยเฉพาะ มีเพียงพระราชบัญญัติการส่งสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติ
ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ที่มีความเกี่ยวข้องอยู่บ้างแต่กฎหมายทั้งสองฉบับยังไม่สามารถเอื้ออำนวย
ต่อการบังคับใช้เกี่ยวกับอาคารสีเขียวได้โดยตรง จึงจำเป็นต้องปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องนี้ให้
มีความชัดเจนสามารถบังคับใช้กับอาคารสีเขียวให้ชัดเจนเอื้ออำนวยต่อการบังคับใช้กฎหมายให้มี
ประสิทธิภาพ ดังนั้น จากปัญหาดังกล่าวเพื่อประโยชน์ในการควบคุมอาคารให้ควบคู่กันไปกับการ
อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ผู้เขียนจึงได้ทำการศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี ความหมายและสภาพ
ปัญหาเกี่ยวกับอาคารสีเขียว และแนวคิด นโยบายและมาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมและ
กำกับดูแลอาคารสีเชียว ทั้งของประเทศไทยและต่งประเทศ โดยเฉพาะประเทศสิงคโปร์ ประเทศ
ต้หวัน และประเทศญี่ปุ่น ที่เป็นต้นแบบที่สำคัญเกี่ยวกับอาคารที่เขียว นำหลักกฎหมายของประเทศ
เหล่านี้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับของประเทศไทยเพื่อให้ทราบถึงปัญหาข้อกฎหมายในการส่งเสริม
และกำกับดูแลอาคารสีเขียว เมื่อศึกษาแล้วจึงได้ข้อเสนอแนะการกำหนดมาตรการทางกฎหมายใน
การแก้ไขปัญหาตังต่อไปนี้
1. ปัจจุบันในประทศไทยไม่มีกฎหมายบังคับใช้โดยเฉพาะเจาะจงทำให้ไม่สามารถบังคับใช้
กฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพได้ จึงควรแก้ไขเพิ่มเติม
มาตรการในการควบคุมอาคารสีเขียวให้มีบทบังคับโทษที่ขัดเจนไว้ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคารพ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 เพื่อเป็นมาตรการลงโทษ
ผู้กระทำการฝ้าฝืนกฎหมายเกี่ยวกับอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมต่อไป
2. เงื่อนไขของอาคารสีเขียวในประเทศทย ตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
ของประเทศไทยในปัจจุบันน้นไปในเรื่องความปลอดภัยมากกว่การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จึงควรมีการ
กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการควบคุมอาคารอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมไว้ในกฎหมายเพื่อการควบคุม และ
ให้มีความสอดคล้องกับการอนุรักษ์พลังงาน ผู้เขียนเห็นควรให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติ
ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 มาตรา 8 ใน (1) และ (2)
3. มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาคารสีเขียว มาตรการในการส่งเสริมในประเทศ
ไทยไม่มีบทบังคับที่ชัดเจนในการลงโทษทำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องไม่คำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อ
สิ่งแวดล้อม จึงควรหามาตรการจูงใจและส่งเสริมการลดการใช้พลังานในอาคารที่มีอยู่เดิมโดยการ
ติดตั้งอุปกรณ์ช่วยลดการใช้พลังงานโดยการกำหนดอุปกรณ์ชั้นพื้นฐานที่ต้องมีในอาคารสีเขียวโดย
กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 และควรจัดให้มีองค์กรใน
การขออนุญาตในการดำเนินการก่อสร้างโรงงานควบคุม โรงงาน อาคารควบคุม และอาคาร ซึ่งใน
ปัจจุบันมีเจ้าหน้าที่ที่ทำหน้าที่ให้อนุญาตแยกเป็นหลายหน่วยงาน ผู้เขียนจึงเห็นควรให้รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทยมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกลางขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อดูแลการอนุญาตในการ
ดำเนินการก่อสร้างโรงงานควบคุม โรงงาน อาคารควบคุม และอาคาร ซึ่งประกอบไปด้วย เจ้าหน้าที่
มาจากกระทรวงมหาดไทยสองคน เจ้าหน้าที่กระทรวงพลังงานสองคน ให้มีหน้าเกี่ยวกับการควบคุม
และอนุญาตในการดำเนินการก่อสร้าง
Item
Study to develop a frame on sustainable tourism development in ASEAN in the post Covid-19 ERA
([Jakarta, Indonesia] : Economic Research Institute for ASEAN and East Asia (ERIA)., 2022) Economic Research Institute for ASEAN and East Asia (ERIA); Adis Israngkura
Sustainable tourism is considered as an emerging key factor for a destination’s ability to maintain or build a strong reputation and a competitive brand which is hoped to enhance the existing relationships with local communities, visitors, and other relevant stakeholders.
As articulated in the AEC Blueprint 2025, the vision for Southeast Asia is to make the region a “quality tourism destination” that offers a unique and diverse ASEAN experience and is committed to sustainable tourism development. As a collective effort towards realising this vision, the ASEAN Tourism Ministers have endorsed the ASEAN Framework on Sustainable Tourism Development in the Post-COVID-19 Era with the support of the Economic Research Institute for ASEAN and East Asia (ERIA).
The framework identifies focus areas and seeks to capitalise on the work that is already being undertaken by the tourism sector and other relevant sectors in the ASEAN Community particularly in the years leading up to 2025 and beyond.
Item
นโยบายเกษตรเพื่อรองรับ BCG
(2023) อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา; ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ
สถานการณ์ปัญหาของพืชเศรษฐกิจ 4 ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
มันสำปะหลัง และยางพารา การเพาะปลูกพืชเหล่านี้มีการขยายพื้นที่รุกล้ำ เข้าไปในพื้นที่ป่า
การเผชิญปัญหาราคาสินค้าเกษตรที่มีความผันผวน และผลผลิตต่อไร่ที่ยังต่ำ
เมื่อเปรียบเทียบกับหลายประเทศ การเข้าถึงองค์ความรู้ และการนำ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมมาใช้ยังไม่เพียงพอโดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อย รวมถึงการใช้ปุ๋ยเคมี
หรือยาฆ่าแมลงต่าง ๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตทำ ให้มีต้นทุนการผลิตที่สูง ประกอบกับปัญหา
ความแปรปรวนของสภาพอากาศและภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะความรุนแรงของพายุและ
สถานการณ์นํ้าท่วมน้ำแล้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อปริมาณและคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร
ของพืชเศรษฐกิจหลักและผลกระทบต่อรายได้และความเป็นอยู่ของเกษตรกร
Item
ภาคีภิบาลป่าไม้ในพื้นที่คุ้มครองในเขตตำบลดงพญา อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022) สิทธิพร รอดไพรสม; สุวิชา เป้าอารีย์
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการภาคีภิบาลป่าไม้ในพื้นที่คุ้มครองในเขตตำบลดงพญา อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน และศึกษาเงื่อนไขความสำเร็จในการจัดการภาคีภิบาลป่าไม้ในพื้นที่คุ้มครองในเขตตำบลดงพญา อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การวิจัยเอกสาร การสังเกตการณ์ การสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 19 คน วิเคราะห์ผลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการศึกษาพบว่า การจัดการภาคีภิบาลป่าไม้คือ กระบวนการจัดการผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มต่าง ๆ ที่มีเป้าหมายร่วมในการบริหารจัดการป่าไม้อย่างมีธรรมาภิบาลในพื้นที่คุ้มครองในเขตตำบลดงพญา อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน แบ่งออกได้ 5 ขั้นตอน คือ 1. การค้นหาและประเมินความสำคัญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการป่าไม้ 2. การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างมีส่วนร่วม 3. กำหนดเป้าหมายและแผนการดำเนินงานอย่างมีส่วนร่วม 4. การประชาสัมพันธ์และรับความคิดเห็นจากสมาชิกในชุมชน และ 5. การติดตาม รายงานและถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน โดยทั้ง 5 ขั้นตอนจะมีการแบ่งบทบาทในการนำกระบวนการพูดคุย การนำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการสนับสนุนข้อคิดเห็นและปัจจัยในการดำเนินงานภายใต้ความรับผิดชอบและศักยภาพที่มี เพื่อสร้างความรู้สึกในการเป็นเจ้าของในภารกิจและสิ่งที่ทำร่วมกันโดยปราศจากการการรับคำสั่งหรือปฏิบัติตามฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่มีอำนาจเหนือกว่า สำหรับปัจจัยเงื่อนไขความสำเร็จในการจัดการภาคีภิบาลป่าไม้ต้องอาศัยเงื่อนไขสำคัญ 4 ประการ คือ ประการที่ 1 ตระหนักและยอมรับอย่างจริงใจต่อปัญหาที่เกิดขึ้น ประการที่ 2 แสดงความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องรวมถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นทั้งทางบวกและลบ ประการที่ 3 ใช้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและยอมรับจากทุกฝ่าย ประการที่ 4 ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม ทุกระดับ
Item
New media disruption: a case study of Chinese-language newspapers in Thailand
(National Institute of Development Administration, 2022) Zhao, Jingnan; Li, Renliang
For over 100 years, Chinese-language newspapers in Thailand have played a unique role in the Chinese community and in Thailand-China international communication. Rapidly expanding internet usage has disrupted how news is produced, delivered, and consumed; however, presenting Chinese-language newspapers in Thailand with many challenges in the digital era. This study aims to 1) review the history of Chinese-language newspapers in Thailand, 2) investigate the challenges and opportunities of the Chinese-language newspapers in Thailand facing new media disruption, and 3) recommend strategies for the continued development of Chinese-language newspapers in Thailand.
Data collection involved both macro-and micro-level analysis of interviews and direct observation. A case study of Sing Sian Yer Pao is presented, as well as the results of a qualitative research study conducted within 30 Chinese-language newspapers in Thailand stakeholders as participants, with data collected through secondary data analysis, in-depth interviews, and group discussion. The collected data was analyzed through Lasswell’s communication model and SWOT. The research result found that: 1) The history of Chinese-language newspapers in Thailand can be divided into seven general periods: beginning, growth, development, setback, golden age, depression, and stable period. There are currently six major Chinese-language daily newspapers, namely Sing Sian Yer Pao, The Universal Daily News, Tong Hua Daily News, The New Chinese Daily News, Kia Hua Tong Nguan, and Asia News Time. The development of Chinese-language newspapers over the past several years corresponds with trends in Thailand’s media and the Thailand-China international relationship. 2) The Chinese-language newspapers in Thailand face considerable challenges in the face of new media disruption. The most prominent problems are the lack of new talent and insufficient financial support, which have significantly restricted the transformation of the Chinese-language newspaper industry in Thailand into a melted media enterprise. Secondly, due to their longstanding customary management models, it is tough to reform the internal management of Chinese-language newspapers in Thailand. This study’s findings show that although Chinese-language newspapers in Thailand play an essential role in communication and can significantly contribute to all areas of the Chinese community’s development in Thailand, their potential remains vastly untapped due to certain obstacles. The Chinese-language newspaper industry in Thailand could benefit from a development program. 3) To apply the study results, Chinese-language newspapers should develop their human resources and expand their user base with accurate customer targeting, improved content production, and other strategies that help foster competitive advantages and customer satisfaction.
Item
วิถีอนุตตรธรรมกับการพัฒนาสังคมไทย กรณีศึกษา
มูลนิธิเทิดคุณธรรม จังหวัดนครราชสีมา
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022) ปวีณา โนนศิลา; หลี่ เหรินเหลียง
งานวิจัยเรื่อง วิถีอนุตตรธรรมกับการพัฒนาสังคมไทย กรณีศึกษา มูลนิธิเทิดคุณธรรม จังหวัดนครราชสีมา เป็นการศึกษาตามระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาหลักการสำคัญของวิถีอนุตตรธรรมที่มูลนิธิเทิดคุณธรรมนำมาประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาประชาชนในสังคมไทย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่นำไปสู่ความศรัทธาในวิถีอนุตตรธรรมของกลุ่มอาสาสมัครมูลนิธิฯ ซึ่งดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งสิ้นจำนวน 15 คน
จากการศึกษา พบว่า มูลนิธิเทิดคุณธรรมได้นำหลักการสำคัญของวิถีอนุตตรธรรมมาประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมพัฒนาให้ประชาชนในสังคมไทยในทุกรุ่นวัยได้ฟื้นฟูจิตเดิมแท้ดีงามของตนเอง ตระหนักรู้คุณค่าของชีวิตและรู้จักกำหนดชีวิตของตนให้ดำเนินไปบนพื้นฐานของคุณธรรมทั้ง 8 ประการ คือ ความกตัญญู ความสามัคคีปรองดอง ความจงรักภักดี การมีสัตยธรรม การมีจริยธรรม การมีมโนธรรมสำนึก การมีสุจริตธรรม และการมีความละอายต่อบาป โดยอาศัยการจัดชั้นอบรมศึกษาหลักธรรมเป็นแนวทางในการส่งเสริมอบรมกล่อมเกลาประชาชนให้ได้เรียนรู้ฝึกฝนพัฒนาตนและนำไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตประจำวัน เพื่อให้สังคมไทยได้เกิดการพัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น อาทิ การมีความรัก ความเมตตา ความเข้าใจต่อกันภายในครอบครัวเพื่อให้สมาชิกในครอบครัวอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข การคบหาสมาคมกับเพื่อนด้วยความจริงใจ การมีอัธยาศัยไมตรีที่ดีต่อเพื่อนบ้าน การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความตั้งใจอย่างเต็มความสามารถในสังคมวัยทำงาน การมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ประชาชนรู้จักหลักการดูแลรักษาสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อจะได้มีอายุวัฒนา รวมถึงการมีจิตเมตตาต่อสรรพสัตว์ทั้งหลายด้วยการไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพื่อสังคมสงบสุข โลกเป็นเอกภาพตามแนวสันติธรรม อย่างไรก็ดี หากสังคมไทยสามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นได้ตามหลักการดังกล่าว นับว่าเป็นสิ่งที่ดีมาก แต่ในทางปฏิบัติพบว่า ยังมีความท้าทายอยู่มาก อันเนื่องมาจากปัจจัยหลายประการในสังคม อย่างไรก็ตาม มูลนิธิเทิดคุณธรรมยังคงมุ่งมั่นสืบสานปณิธานในการส่งเสริมประชาชนให้ดำเนินชีวิตด้วยคุณธรรมต่อไป โดยมีแนวร่วมภาคประชาชนที่เห็นความสำคัญและเข้ามาเป็นอาสาสมัครเพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี
สำหรับปัจจัยที่ทำให้กลุ่มบุคคลก่อเกิดความศรัทธาในวิถีอนุตตรธรรมและเข้ามามีส่วนร่วมในการเป็นอาสาสมัครร่วมกับมูลนิธิฯ จากการศึกษาพบว่า มีปัจัยสำคัญที่เป็นแรงจูงใจ คือ การศึกษาในชั้นอบรมจนเข้าใจในหลักธรรมและนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เข้าใจในสัจธรรมชีวิต การที่มีความสุขมากขึ้น การเข้าใจตนเองและผู้อื่นมากขึ้น ความรู้สึกศรัทธาในธรรมะและเห็นคุณค่าของชีวิต อยากทำประโยชน์เพื่อสังคมส่วนรวมมากขึ้น ความเห็นแก่ตัวลดลง ความโลภ ความโกรธ ความหลงลดลง การรู้จักเตือนตนเตือนใจให้ระงับยับยั้งอารมณ์โทสะได้มากขึ้น การมีจิตเมตตาต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อสรรพสัตว์มากขึ้น รวมถึงความศรัทธาต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เชื่อว่าช่วยดลบันดาลการช่วยเหลือหนุนนำอยู่เบื้องหลัง หากตนปฏิบัติดีปฏิบัติชอบก็จะได้รับความเมตตาคุ้มครองดูแลจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ให้อยู่เย็นเป็นสุขและอยู่รอดปลอดภัยจากภัยพิบัติหรือสิ่งไม่ดีทั้งหลาย การเข้ามามีส่วนร่วมเป็นอาสาสมัครตามวาระและโอกาสที่ตนสะดวกในการทำความดีร่วมกับมูลนิธิฯ ก็เปรียบเสมือนเป็นการตอบแทนพระคุณพ่อแม่ บรรพบุรุษ ตอบแทนสังคมประเทศชาติบ้านเมือง เพื่อช่วยกันจรรโลงคุณธรรมความดีให้เกิดขึ้นในสังคมไทยสืบไป
Item
Nomological model of study-life balance and sustainable success in undergraduate students
(National Institute of Development Administration, 2022) Krisana Chotratanakamol; Duchduen Bhanthumnavin
The pursuit of study-life balance is a vital determinant of students overall success and well-being in academic and personal domains. However, there is still limited research in Thailand. This research was a nomological network study with aims to: 1) investigate crucial predictors and predictive percentage of psychological characteristics, situational factors, and psychological states related to the study-life balance of undergraduate students. 2) investigate crucial predictors and predictive percentage of psychological states and study-life balance related to the sustainable success of the students. 3) investigate direct and indirect effects of psychological characteristics and situational factors on study-life balance and the sustainable success of the students, and 4) identify characteristics of students with low study-life balance (the at-risk group) and protective factors that promote study-life balance in the students. The multi-stage sampling method was used, and the samples consisted of 597 undergraduate students from the second and third years of four public universities in Thailand. The sample included 174 males (29.20%) and 422 females (70.80%), with an average age of 20 years and 3 months. Among the participants, 150 were working while studying (25.10%) and 447 were non-working students (74.90%). The data were analyzed in total sample group and 25 subgroups, categorized according to demographic characteristics. Multiple regression analysis, structural equation modeling (SEM), and three-way analysis of variance were applied to test the hypotheses.
The interactionism model was adopted to form the conceptual model of this study. There were 6 groups of variables as follows; 1) Psychological traits variables (self-regulation, core self-evaluation, and psychology immunity), 2) Situational factors variables (perceived support opportunity from others, academic demands, and university inculcating experience), 3) Psychological states variables (favorable attitudes toward adjustment and innovation, creative problem-solving, and proactive personality), 4) Study life balance variables (study-life conflict reduction and study-life enrichment), 5) Sustainable success variables (academic success, life satisfaction, and health and wellness), and 6) Background characteristics variables. Most of the measures in this study were in the form of summated rating method with 6-point rating scale. The range of score reliability was between .70 to .86.
Multiple regression analysis showed important findings as follows: Firstly, regarding the psychological traits and the perceived situation variables (Set 3), there were 6 variables that could predict the psychological states: 1) favorable attitudes toward adjustment and Innovation for 57.72% in total sample. The important predictors were perceived support opportunity from others (β=.34), psychological immunity (β=.30), and self-regulation (β=.22), respectively, 2) creative problem solving for 66.61% in total sample. The important predictors were self-regulation (β=.26), perceived support opportunity from others (β=.21), core self-evaluation (β=.19), university inculcating experience (β=.16), and psychological immunity (β=.16), and 3) proactive personality for 77.03% in total sample. The important predictors were psychological immunity (β=.32), core self-evaluation (β=.22), perceived support opportunity from others (β=.21), self-regulation (β=.18), academic demands (β=-.14), and university inculcating experience (β=.11). Overall, the results were found to support hypothesis 1 only in subgroups of each dependent variables.
Secondly, the 9 predictors from the psychological traits, situational factors, and psychological states (Set 5) could predicted the study-life balance behavior as follows: 1) study-life conflict reduction for 72.11% in total sample. The important predictors were perceived support opportunity from others (β=.21), favorable attitudes toward adjustment and innovation (β=.20), psychological immunity (β=.19), core self-evaluation (β=.18), proactive personality (β=.13), creative problem solving (β=.13), and self-regulation (β=-.08), 2) study-life enrichment for 69.74% in total sample. The important predictors in descending order were perceived support opportunity from others (β= .47), creative problem solving (β=.35), and university inculcating experience (β=.10). Overall, the data analysis on study-life balance that supported hypothesis 2 was only found in subgroups.
Thirdly, the 11 predictors (Set 7) in this study, including variables in psychological traits, situational factors, psychological states, and study-life balance, could predicted the outcome variables as follows: 1) academic success for 79.28% in total sample. The important were proactive personality (β=.34), creative problem solving (β=.19), core self-evaluation (β=.16), favorable attitudes toward adjustment and Innovation (β=.15), study-life conflict reduction (β=-.12), self-regulation (β=.10), study-life enrichment (β=.10), university inculcating experience (β=.09) and academic demands (β=.07), 2) life satisfaction for 69.35% in total sample. The important predictors were perceived support opportunity from others (β=.37), core self-evaluation (β=.34), study-life enrichment (β=.19), and university inculcating experience (β=.11), 3) health and wellness for 67.98% in total sample. The important predictors in descending order were core self-evaluation (β=.69), proactive personality (β=-.22), creative problem-solving (β=.13), perceived support opportunity from others (β=.13), academic demands (β=.12), study-life enrichment (β=.10), favorable attitudes toward adjustment and innovation (β=-.10), university inculcating experience (β=.07). The results of data analysis on sustainable success did not support hypothesis 3, in both total group and subgroups.
Fourthly, the results from path analysis modeling indicated the model fit for the adjusted model (x2 = 39.086; df = 27; p-value = 0.0622; RMSEA = 0.027; CFI = 0.998; TLI = 0.995; SRMR = 0.050). The results supported hypothesis 4 based on the interactionism model. Psychological traits and situational latent variables had direct influence on study-life balance latent variable and indirect influence through the psychological states latent variable, which could explain the behavior latent variable (R2=96.8%). Study-life balance latent variable and psychological states latent variable had direct influence on sustainable success and indirect influence through study-life balance latent variable, which could explain the sustainable success latent variable (R2= 94.8%.) In addition, there were additional direct effects from psychological trait latent variable to situational latent variables (R2= 97.4%).
Finally, characteristics of the at-risk group who showed lower study-life balance were described as follows: 1) low GPA students, 2) non-working students, 3) science and technology, junior students 4) junior students, 5) low-income students, 6) science and technology students, 7) high GPA, low-income students, 8) low GPA, high-income students, 9) sophomore humanities and social science students, and 10) junior business administration students. Moreover, the critical preventive factors of these at-risk groups of students were perceived support opportunity from others, creative problem solving, university inculcating experience, psychological immunity, and favorable attitudes toward adjustment and innovation.
Based on the findings of the present study, the interactionism model and nomological network were considered as valuable tools for understanding human behavior. The findings highlighted the importance of proactive personality in achieving study-life balance for students and emphasized the need to foster individuals with lower levels of study-life balance. Additionally, psychological immunity and social support were also identified as important factors. To improve essential study-life balance skills for Thai university students, it is recommended to enhance these factors through general education courses, class activities, and training interventions.
Item
การขับเคลื่อนเครือข่ายเพื่อการคุ้มครองเด็ก : กรณีศึกษาเครือข่ายคุ้มครองเด็กเทศบาลเมืองหนองปรือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022) ปัณณธร นันทิประภา; สุวิชา เป้าอารีย์
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ 1) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับองค์ประกอบของระบบการคุ้มครองเด็กที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนเครือข่ายคุ้มครองเด็ก 2) วิเคราะห์ขั้นตอนการขับเคลื่อนเครือข่ายคุ้มครองเด็ก และ 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค ตลอดจนข้อเสนอแนะต่อการจัดการเครือข่ายคุ้มครองเด็กเทศบาลเมืองหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 15 คน ได้แก่ สมาชิกของเครือข่ายคุ้มครองเด็กในพื้นที่เทศบาลเมืองหนองปรือ อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ซึ่งเป็นสมาชิกที่มาจากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมถึงเยาวชนที่เข้าร่วมเครือข่าย ผลการวิจัย พบว่า องค์ประกอบของระบบการคุ้มครองเด็กที่ส่งผลต่อการขับเคลื่อนเครือข่ายคือ 1) มีนโยบาย แผนงานการคุ้มครองเด็กที่ดำเนินงานภายใต้ยุทธศาสตร์ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2) มีกลไกการให้บริการด้านการคุ้มครองเด็กในพื้นที่ 20 หน่วยงาน 3) มีกระบวนการพัฒนาศักยภาพด้านทักษะ ความรู้ และกระบวนการจัดการที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองเด็ก 4) มีกลไกประสานความร่วมมือระดับท้องถิ่นตามแนวปฏิบัติเพื่อพัฒนาระบบคุ้มครองเด็กในระดับตำบล 5) มีกลไกการตรวจสอบด้วยการรายงานและกระบวนการตอบสนองการจัดการรายกรณีด้วยทีมสหวิชาชีพ 6) มีวงจรการดูแลเด็กในรูปแบบการป้องกันและการปกป้องคุ้มครอง 7) เด็กเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการคุ้มครองเด็กในพื้นที่ ซึ่งองค์ประกอบเหล่านี้นำไปสู่การสร้างเครือข่ายและการขับเคลื่อนเครือข่าย 3 กระบวนการคือ 1) การบริหารจัดการเครือข่าย 2) การพัฒนาเครือข่าย 3) การรักษาเครือข่าย อย่างไรก็ตามยังพบปัญหาจากการขับเคลื่อนเครือข่าย 2 ประการคือ 1) เครือข่ายยังไม่มีการจัดระบบข้อมูลพื้นฐานและจัดการความรู้สำคัญ 2) เครือข่ายยังขาดการสร้างการมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่ายในเรื่องการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานเครือข่ายคุ้มครองเด็ก
Item
A whistleblowing in Thalland's bureaucracy
(National Institute of Development Administration, 2022) Sawai Seesai; Somsak Samukkethum
Corruption is a complicated social, political, and economic phenomenon that occurs on a large scale and affects the whole society. The phenomenon undermines democracy, the justice system, human rights, market mechanisms, economic potentiality, and people life’s quality, and causes other negative impacts on human security. Corruption occurs in all countries and is considered one of the most severe problems; there is no sign for the problem to deplete but more and more severe and complicated.
All the countries around the world have been trying to establish policies and measures to prevent and eliminate corruption, such as increasing compensation for a government official, decreasing the state’s organization, creating financial transparency, developing the media’s freedom, strengthening a justice system, etc. Among these policies and mechanisms, whistleblowing is one of the tools to fight corruption and promote good governance, responsibility, and transparency and is deemed one of the most effective mechanisms to fight corruption.
However, in Thailand, there are limited studies on whistleblowing and is found in limited contexts. The body of knowledge on whistleblowing in Thailand’s context does not reflect existing and ongoing corruption. The development of mechanisms or systems to support whistleblowing should be based on an understanding of the phenomenon in the Thailand context. This study aims to study corruption and whistleblowing to understand conditions that facilitate or prevent whistleblowing as well as propose the concept to develop a supportive and promotion system of whistleblowing in the future.
The study found that the state’s policies do not facilitate or promote whistleblowing in the bureaucratic system. The government’s personnel feel unsure that the government would value the prevention and elimination of corruption. The government does not have a specific mechanism for whistleblowing and there is no exact data about existing whistleblowing. The whistleblowing case is treated as other types of complaints. The whistleblower and the witness feel insecure about government support, organization justice, acceptance, confidentiality, and protection from revenge. Government officials lack of understanding how to handle in case they witness corruption.
In addition, the study found that the whistleblowing case is a social exemption case that occurs and influences solely by personal dimensions, including professional norms, self-esteem, locus of control, moral development, and ethical belief. The whistleblowing case which influences by personal dimensions makes it almost impossible to happen again in other contexts; this is because there is no guarantee that personal dimensions would be powerful enough if compared with a fear of revenge, an exclusion from society, and impacts to family and works. Engagement from civil society and the media play an important role in an investigation of corruption and the protection of the whistleblower.
The study suggests that there should be a reform of laws, the justice system, justice strategies, and management approach to prevent and eliminate corruption by developing the specific legal system, justice system, justice strategies, and management for whistleblowing cases, revenge prevention, and whistleblower protection. The government should develop its management mechanism and good governance, eliminate the patronage system, reform roles and responsibilities, professionalism, and transparency. The government should manage the data to separate whistleblowing cases from other complaints and should promote more engagements between civil society and the media.
Item
สุขภาวะและการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุในชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนศรีฐาน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
(สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022) สิริยากร สิงห์เสนา; อาแว มะแส
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสุขภาวะของผู้สูงอายุในชุมชนศรีฐาน อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 2) ศึกษาการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุในชุมชน และ 3) วิเคราะห์เงื่อนไขที่สำคัญของการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุในชุมชน การดำเนินการวิจัยเป็นไปตามวิธีวิทยาการวิจัยเชิงคุณภาพ การรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับกรณีศึกษาเป็นหลัก ควบคู่การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการจัดหมวดหมู่ การสังเคราะห์ข้อมูลและการตีความ ผลการศึกษาพบว่าชุมชนศรีฐาน เป็นชุมชนเมืองที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในทิศทางที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะที่ดีของผู้สูงอายุในชุมชน ผู้สูงอายุที่เลือกเป็นกรณีศึกษาล้วนมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1-2 โรค ส่วนใหญ่เป็นโรคเรื้อรังและไม่ติดต่อ แต่ยังคงสามารถดำเนินกิจวัตรประจำวันตามศักยภาพของตนเองได้ การชี้แนะที่ดีมีความสำคัญต่อการสร้างเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุให้สามารถพึ่งตนเองได้ เงื่อนไขที่สำคัญของการสร้างเสริมสุขภาวะ มีหลายประการ ทั้งสภาพร่างกายของตัวผู้สูงอายุแต่ละคน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ครอบครัว กลุ่มจิตอาสาในชุมชน สภาพแวดล้อม ที่ตั้งของชุมชน และสนับสนุนจากฝ่ายการเมืองท้องถิ่น ข้อเสนอแนะที่สำคัญคือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ สำหรับใช้เป็นพื้นที่กลางให้ผู้สูงอายุในชุมชนทำกิจกรรมร่วมกันและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการมีสุขภาวะที่ดี ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา
Item
The effect of knowledge hiding on employee innovation performance of multinational corporations : based on team-member exchange and cultural intelligence
(National Institute of Development Administration, 2022) Jin, Yanfang; Chen, Chih Hung
Economic globalization has become an irresistible trend in world economic development. Innovation is the primary driving force for national development and the decisive factor for the survival and development of enterprises, especially for multinational corporations. In the post-epidemic era, the turbulence and uncertainty of the world economy have further intensified. Economic globalization has suffered unprecedented damage. The trade friction between major countries escalates, and Chinese multinational companies face is great challenges. Therefore, improving the innovation of multinational companies effectively is an important way to enhance the core competitiveness of multinational companies. For the realization of the innovation performance of teams and organizations coming from individual innovation, multinational companies rely on employees with different cultures to improve their innovation performance. It is of great significance to study the ways to improve the innovation performance of employees to enhance the core competitiveness of multinational companies. Therefore, from the perspective of knowledge sharing, the current research mainly studies the improvement of employee innovation performance, ignoring the important premise of knowledge sharing -- employees decide to share their knowledge. Employees who are not motivated to share knowledge with their colleagues will hide their knowledge, leading to knowledge-hiding behaviors. Then the behaviors will reduce the social interaction between employees and their creativity, which has an impact on employees’ innovation behaviors and weakens the innovation performance of employees and the company. Accordingly, this study applies the social exchange theory to study the knowledge-hiding behaviors of employees who are working in multinational companies and studies the function mechanism of knowledge hiding on employee innovation performance.
This study adopts the social exchange theory and the social classification theory to blend knowledge management and innovation. Meanwhile, this study, synthesizing literature research, questionnaire, and statistical analysis, using SPSS and MPLUS to analyze data and selecting 300 Chinese employees from the multinational companies as the research sample, study the function mechanism of knowledge hiding on employee innovation performance. Based on the exchange relationship of employees and the working characteristics of cross-culture, this study explores the mediating and moderating role of team-member exchange and cultural intelligence in the influence of knowledge hiding on the innovation performance of employees in multinational companies. The research hypothesis and the theoretical model are verified, have made up for defects of existing studies.
This study discusses the improvement of innovation performance of employees from multinational companies, which is an innovative exploration in the field of knowledge management and innovation management. The research results provide theoretical support and guarantee for Chinese multinational companies to improve the innovation performance of their employees, bringing certain practical significance. This study effectively reveals the function mechanism of knowledge hiding on multinational employee innovation performance, constructs a research framework of knowledge hiding, team-member exchange, cultural intelligence and employee innovation performance of multinational companies, and provides theoretical support for the research of the relationship among variables. Empirical conclusions suggest that managers of multinational companies should specify effective human resource management and knowledge management strategies for employee knowledge hiding, to improve team-member exchange, reduce knowledge hiding, and ultimately improve employees’ innovation performance. The research conclusions have important theoretical and practical significance.
Item
Does an organizational doing good cause its employees to do good? The impact of employee-perceived CSR on organizational citizenship behavior
(National Institute of Development Administration, 2022) Li, Yingxia; Chen, Chih Hung
Since formally proposed, CSR has been the subject of debate and research, and has aroused the interest of scholars in management, sociology, strategy, law and other fields. More and more scholars believe companies should approach their business from a sustainable development perspective and support CSR activities.
However, in China, companies do not actively participate in CSR, or have “hypocritical” motives to do so. The reason is not only because of lax external legal constraints and information asymmetry, but also because they do not have a comprehensive understanding of “what CSR brings to the organization” and “How to implement CSR effectively”.
In terms of the CSR literature, scholars argue as as more companies engage in CSR activities, there is an urgent need to establish a research stream to explore the impact of CSR on employee behavior, performance, and productivity. Unfortunately, there are not so many CSR researches taking employees as the analysis unit. The knowledge about employees’ responses to CSR is still largely fragmented and lacks theoretical consolidation. Therefore, this study attempted to fill this gap.
Based on stakeholder theory, social identity theory and social exchange theory, this study innovatively proposes a new comprehensive model to explore the mechanism of the influence of employee-perceived CSR on employee organizational citizenship behavior at the micro individual level through rigorous research design and standardized research methods. This study believes that if the underlying mechanism between CSR and organizational citizenship behavior is revealed, managers can adjust the organization’s CSR strategy accordingly to effectively implement CSR and embed CSR practices into organizational design and processes to advance the cause of CSR.
This study argues that employee-perceived CSR includes three dimensions: perceived CSR altruism, perceived CSR execution and perceived CSR participation. It wants to verify three questions.
(1) Whether perceived CSR altruism, perceived CSR execution and perceived CSR participation positively affect employee organizational citizenship behavior?
(2) Whether perceived CSR altruism, perceived CSR execution and perceived CSR participation positively affects employee organizational citizenship behavior via the mediating role of organizational identification?
(3) Whether organizational identification positively affects employe organizational citizenship behavior via the moderating role of perceived organizational support?
Using 409 survey data from two regions with different levels of economic development in China, the conceptual model is tested by hierarchical regression analysis and SEM. Empirical results indicate that perceived CSR altruism, perceived CSR execution and perceived CSR participation all have positive impact on organizational citizenship behavior through the partial mediation of organizational identification, and perceived organizational support moderates the positive impact between organizational identification and organizational citizenship behavior.
This study offers managerial implications. (1) Employee-perceived CSR includes perceived CSR execution, perceived CSR altruism and perceived CSR participation. Therefore, enterprises should design CSR programs in a manner that effectively promotes employees’ perception of the three dimensions. (2) CSR has a positive impact on organizational identification and organizational citizenship behavior. Therefore, CSR is worth investing in. Enterprises should integrate social responsibility into their development strategies. (3) Organizational identification is a bridge connecting perceived CSR and organizational citizenship behavior, so enterprises should pay attention to the cultivation of employee identification. (4) Enterprises should create a sense of organizational support and increasing the degree to which organizational identity positively affects organizational citizenship behavior. (5) To develop CSR, in addition to formulate CSR-related regulations, the government should publicize the positive role of CSR in the organization and stimulate the internal driving force of enterprises to fulfill CSR.
This study contributes to the extant literature in multiple ways. First, it provides a more comprehensive perspective of individual perception and assessment of CSR by expanding the dimensions of employee-perceived CSR. Second, it offers a new conceptual model and explores why and how perceived CSR contributes to employee outcomes in the workplace, which not only responds to the call to explain why CSR impacts employee output , but also integrates and expands CSR research at the individual level, helping to bridge the micro-level research gap that has been criticized in the field of CSR research. Third, it discovers that perceived organizational support moderates the positive impact of organizational identification on organizational citizenship behavior, which better answers “how” and “under what conditions” CSR contributes to employee outcomes and advances the understanding of the psychological processes linking CSR to organizational citizenship behavior. Practically, based on an empirical survey of Chinese firms, this study proves that CSR can trigger employees’ organizational citizenship behavior, thereby inspire the CEO’s enthusiasm to implement CSR and promote the development of CSR in China. It also provides a theoretical and guiding model for companies to formulate, implement and disseminate CSR strategies, thereby optimizing the return on CSR investment.
This study contributes to the extant literature in multiple ways. First, it provides a more comprehensive perspective of individual perception and assessment of CSR by expanding the dimensions of employee-perceived CSR. Second, it offers a new conceptual model and explores why and how perceived CSR contributes to employee outcomes in the workplace, which not only responds to the call to explain why CSR impacts employee output , but also integrates and expands CSR research at the individual level, helping to bridge the micro-level research gap that has been criticized in the field of CSR research. Third, it discovers that perceived organizational support moderates the positive impact of organizational identification on organizational citizenship behavior, which better answers “how” and “under what conditions” CSR contributes to employee outcomes and advances the understanding of the psychological processes linking CSR to organizational citizenship behavior. Practically, based on an empirical survey of Chinese firms, this study proves that CSR can trigger employees’ organizational citizenship behavior, thereby inspire the CEO’s enthusiasm to implement CSR and promote the development of CSR in China. It also provides a theoretical and guiding model for companies to formulate, implement and disseminate CSR strategies, thereby optimizing the return on CSR investment.