การพัฒนาโมเดลการวัดทักษะสำหรับคนทำงานในศตวรรษที่ 21

dc.contributor.advisorนันทา สู้รักษาth
dc.contributor.authorเจนจีรา สามพันพวงth
dc.date.accessioned2023-04-10T07:39:19Z
dc.date.available2023-04-10T07:39:19Z
dc.date.issued2019th
dc.date.issuedBE2562th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและพัฒนาแบบประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับคนทำงาน และ 2) เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของโมเดลการวัดทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับคนทำงาน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คนทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย พนักงานในองค์กรเอกชน รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานของรัฐ ผู้ประกอบอาชีฬอิสระ จำนวน 524 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับคนทำงาน สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD)ค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson's Product Moment Correlation) ระหว่างตะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (Item-total Correlation) ในการหาค่าอำนาจ จำแนกรายข้อ ค่าความเชื่อมั่น (Reliabilty) โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา (Coefficient Alpha) และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) ผลการศึกษาพบว่า 1) ทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับคนทำงาน ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 2) การคิดเชิงวิเคราะห์และการแก้ปัญหา 3) การสื่อสารและการ ร่วมมือทำงาน 4) ความรู้เท่าทันทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) ความยืดหยุ่นและความสามารถในการ ปรับตัว 6) การริเริ่มและชี้นำตนเอง และ 7) การทำงานให้เกิดผลิตผลและมีความรับผิดชอบในการ ทำงาน ซึ่งแบบประเมินทักษะในสตวรรษที่ 21 สำหรับคนทำงาน มีจำนวนตัวขี้วัดทั้งสิ้น 48 ตัวขี้วัด และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.91 และในแต่ละองค์ประกอบมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ในเกณฑ์ดี (r = 0.76, 0.75, 0.73, 0.73 0.69, 0.68 และ 0.73 ตามลำดับ) 2) โมเดลองค์ประกอบทักษะในศตวรรษที่ 21 สำหรับคนทำงาน มีความสอดคล้องกับข้อมูล เชิงประจักษ์ดี (X' =1003.237, of = 937, p = 0.065, X' /df = 1.071, RMSEA = 0.015, NFI = 0.955, NNFI = 0.991, CFI = 0.993, RMR = 0.039, SRMR = 0.039, GFI = 0.913, AGFI = 0.902) ซึ่งค่าน้ำหนักองค์ประกอบของตัวแปรแฝงทั้ง 7 องค์ประกอบ ระหว่าง 0.83-0.99 และค่าน้ำหนัก องค์ประกอบของตัวแปรสังเกตได้ ทั้ง 48 ตัวแปร มีค่าอยู่ระหว่าง 0.35 - 0.67 ซึ่งมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 ทุกค่าth
dc.format.extent178 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2019.103
dc.identifier.otherb211002th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6359
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherการทำงาน -- การประเมินth
dc.subject.otherศตวรรษที่ 21th
dc.titleการพัฒนาโมเดลการวัดทักษะสำหรับคนทำงานในศตวรรษที่ 21th
dc.title.alternativeDeveloping a measurement model of the 21st century skillth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th
thesis.degree.disciplineการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b211002.pdf
Size:
47.51 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:
Collections