การถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรวัยทำงาน

dc.contributor.advisorบังอร โสฬสth
dc.contributor.authorยุทธนา รังสิตานนท์th
dc.date.accessioned2023-01-24T04:21:02Z
dc.date.available2023-01-24T04:21:02Z
dc.date.issued2017
dc.date.issuedBE2560th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560
dc.description.abstractการวิจัยนี้มุ่งศึกษาการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย บุคคลากรวัยทำงานตั้งแต่ระดับปฎิบัติการ ตลอดไปจนถึงระดับหัวหน้างาน จำนวน 392 คน โดยมีอายุตั้งแต่ 16 ปี ถึง 57 ปี ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) จำนวน 4 ฉบับ ได้แก่ (1)แบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคล (2)แบบสอบถาม พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ แบ่งเป็น แบบสอบถามการสร้างเสริมสุขภาพทางกายและทางจิต 6 ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบต่อสุขภาพ ด้านการออกกำลังกาย ด้านโภชนาการ ด้านสัมพันธภาพ ระหว่างบุคคล ด้านการพัฒนาทางจิตวิญญาณ และด้านการขจดัความเครียด (3)แบบสอบถามการ ถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อย 5 ขั้น ได้แก่ 1.ขั้นบรรจุเข้าทำงาน 2.ขั้น เรียนรู้ 3. ขั้นยอมรับ 4.ขั้นดำรงรักษา 5. ขั้นลาออกและจดจำ (4) แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็น สมาชิกที่ดีขององค์การ ประกอบด้วยพฤติกรรมย่อย 5 ด้าน คือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการ คำนึงถึงผู้อื่น ด้านความอดทนอดกลั้น ด้านการให้ความร่วมมือ และด้านความสำนึกในหน้าที่ แบบสอบถามฉบับที่ 2 ถึง 4 ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ความเชื่อมนั่น ของแบบสอบถาม โดยพบว่ามีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s alpha coefficients) เท่ากับ .883, .914 และ .891 ตามลำดับth
dc.description.abstractผลการวเิคราะห์ข้อมูลแสดงให้เห็นว่า (1) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขภาพจิต มีความสัมพนัธ์เชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ(2) การถ่ายทอดทางสังคมในth
dc.description.abstractองค์การมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต (3) การถ่ายทอดทาง สังคมในองค์การ มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกทื่ดีขององค์การth
dc.description.abstractผลการศึกษาบ่งชี้บทบาทที่สำคัญ ของการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การในการสร้าง พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของ บุคลากรในวัยทำงาน ทั้งยังชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของการสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขจิต และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การที่มีความสัมพันธ์ต่อกัน อีกด้วย การศึกษาครั้งนี้จึง เสนอว่า องค์การควรมุ่งเน้นการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การและพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกาย และสุขภาพจิต เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การth
dc.format.extent92 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifierb203226th
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2017.117
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6231
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.rights.holderสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.subject.otherการเสริมสร้างสุขภาพth
dc.subject.otherคุณภาพชีวิตการทำงานth
dc.titleการถ่ายทอดทางสังคมในองค์การ พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรวัยทำงานth
dc.title.alternativeOrganizational socialization and health promotion behavior in relating to organizational citizenship behavior of working ageth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์th
thesis.degree.disciplineการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b203226.pdf
Size:
972.42 KB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:
Collections