การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2512 : ศึกษาเฉพาะกรณีการเตรียมการและการดำเนินการเลือกตั้งของกระทรวงมหาดไทย
Publisher
Issued Date
1970
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
165 หน้า.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
บุเรศ ศุภกาญจน์ (1970). การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2512 : ศึกษาเฉพาะกรณีการเตรียมการและการดำเนินการเลือกตั้งของกระทรวงมหาดไทย. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1078.
Title
การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2512 : ศึกษาเฉพาะกรณีการเตรียมการและการดำเนินการเลือกตั้งของกระทรวงมหาดไทย
Alternative Title(s)
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ผู้เขียนได้ตั้งสมมติฐานว่า การเตรียมการและดำเนินการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนของกระทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2512 นั้น ยังไม่ทำให้การเลือกตั้งเป็นไปด้วยความเรียบร้อยสะดวกแก่ผู้เลือกตั้งและผู้สมัครรับเลือกตั้ง สมควรที่จะได้มีการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ผู้เขียนจึงได้ศึกษาการบริหารงานในด้านการเตรียมการเลือกตั้ง ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค สำหรับส่วนกลางแยกศึกษากิจการที่สำคัญ ๆ ซึ่งเป็นหน้าที่โดยตรงของราชการบริหารส่วนกลาง อันได้แก่ การเตรียมการเกี่ยวกับกฎหมาย การเตรียมด้านงบประมาณ การวางแนวทางปฏิบัติในการปราศรัยหาเสียงของผู้สมัตร สำหรับส่วนภูมิภาค ผู้เขียนศึกษาในเรื่องทะเบียนผู้เลือกตั้งและบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้ง การกำหนดหน่วยเลือกตั้ง และประกาศระบุที่เลือกตั้ง การแต่งตั้งคณะกรรมการ และเจ้าหน้าที่ต่าง ๆ การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการเลือกตั้ง และการประชาสัมพันธ์ นอกจากนั้นผู้เขียนยังได้ศึกษาการดำเนินการเลือกตั้งอันรวมถึงประกาศต่าง ๆ ของทางราชการ การรับสมัคร และปัญหาต่าง ๆ ในวันลงคะแนนเลือกตั้ง พร้อมกับประเมินผลเกี่ยวกับการเลือกตั้งในลักษณะเป็นผลสะท้อนของการบริหารการเลือกตั้งทั้งหมด โดยศึกษาถึงจำนวนผู้ใช้สิทธิเลือกตั้ง ผลการสมัครรับเลือกตั้ง ปัญหาเกี่ยวกับการเลือกตั้ง.
การศึกษาเน้นหนักไปทางวิเคราะห์กฎหมายข้อบังคับ ระเบียบการและหนังสือสั่งราชการของกระทรวงมหาดไทย แล้วใช้ความรู้ในทางรัฐประศาสนศาสตร์ประยุกต์กับข้อเท็จจริงเพื่อค้นหาปัญหา อุปสรรคและประเมินผลข้อมูลและข่าวสารอันได้จากรายงานต่าง ๆ ที่ปรากฏในกองการเลือกตั้ง.
การศึกษาเน้นหนักไปทางวิเคราะห์กฎหมายข้อบังคับ ระเบียบการและหนังสือสั่งราชการของกระทรวงมหาดไทย แล้วใช้ความรู้ในทางรัฐประศาสนศาสตร์ประยุกต์กับข้อเท็จจริงเพื่อค้นหาปัญหา อุปสรรคและประเมินผลข้อมูลและข่าวสารอันได้จากรายงานต่าง ๆ ที่ปรากฏในกองการเลือกตั้ง.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2513.