ทัศนคติของประชาชนต่อการใช้อาวุธปืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
Publisher
Issued Date
2013
Issued Date (B.E.)
2556
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
14, 237 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b181848
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ศิริพร เพ็งจันทร์ (2013). ทัศนคติของประชาชนต่อการใช้อาวุธปืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/2422.
Title
ทัศนคติของประชาชนต่อการใช้อาวุธปืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : กรณีศึกษา ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
Alternative Title(s)
Attitude of people toward using the firearms in the three southern border provinces of Thailand : a case study on Sungaipadi District, Narathiwat Province
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีเพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนไทยพุทธและไทยมุสลิมต่อการ
ใช้อาวุธปืนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และค้นหานโยบายหรือข้อเสนอแนะที่เหมาะสมในการ
ใช้อาวุธปื นในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็ นการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ
ประกอบกันในพื้นที่หมู่ 1 บ้านไอกูบู (มุสลิม) หมู่ 6 บ้านควน (พุทธ) และ หมู่ 9 บ้านตลิ่งสูง (ผสม)
ตาบลสุไหงปาดี อาเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส การวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามจาก
ชาวบ้านจานวน 279 คน โดยความหาสัมพันธ์จากค่าความถี่ การวิเคราะห์ความแปรปรวน ค่า
คะแนนเฉลี่ยจากการตอบแบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสนทนากลุ่มจากตัวแทน
ชาวบ้านจา นวน 25 คน ซึ่งเป็นผู้นา ชุมชน ผู้นา ตามธรรมชาติ และปราชญ์ชาวบ้าน เครื่องมือที่ใช้วัด
ทัศนคติต่อการใช้อาวุธปืน คือ มิติความปลอดภัย มิติความกลัว และมิติความไว้วางใจ
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ชาวบ้านในหมู่ 6 บ้านควน (พุทธ) มีระดับความคิดเห็นสูงสุด ต่อการใช้อาวุธปืนเพื่อสร้างความปลอดภัยและลดความกลัว และชาวบ้านในหมู่ 1 บ้านไอกูบู (มุสลิม) มีระดับความคิดเห็นระดับสูงสุดต่อการใช้อาวุธปืนเพื่อสร้างความไว้วางใจ สาหรับผล การศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า ชาวบ้านทั้ง 3 หมู่บ้านมีความคิดเห็นว่าการใช้อาวุธปื น ไม่สามารถ แก้ไขปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ได้ ในทางตรงกันข้ามเมื่อชาวบ้านครอบครองอาวุธปื นทา ให้เกิด ความไม่ไว้วางใจและสร้างความกลัวระหว่างประชาชนไทยพุทธและไทยมุสลิม นา ไปสู่ความไม่ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตนเองและชุมชน
จากการศึกษาพบว่าข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้คือต้องการให้รัฐบาลยกเลิกนโยบายการ สนับสนุนอาวุธปื นในพื้นที่เนื่องจากไม่สามารถแก้ไขปัญหาในการสร้างความปลอดภัย ลดความ กลัวและการสร้างความไว้วางใจ แต่รัฐบาลควรสร้างความไว้วางใจเป็นยุทธศาสตร์หลักในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดความเข้าใจกันและร่วมถักทอความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนไทยพุทธและ ไทยมุสลิมตามแนวทางสันติวิธี
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ชาวบ้านในหมู่ 6 บ้านควน (พุทธ) มีระดับความคิดเห็นสูงสุด ต่อการใช้อาวุธปืนเพื่อสร้างความปลอดภัยและลดความกลัว และชาวบ้านในหมู่ 1 บ้านไอกูบู (มุสลิม) มีระดับความคิดเห็นระดับสูงสุดต่อการใช้อาวุธปืนเพื่อสร้างความไว้วางใจ สาหรับผล การศึกษาเชิงคุณภาพ พบว่า ชาวบ้านทั้ง 3 หมู่บ้านมีความคิดเห็นว่าการใช้อาวุธปื น ไม่สามารถ แก้ไขปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ได้ ในทางตรงกันข้ามเมื่อชาวบ้านครอบครองอาวุธปื นทา ให้เกิด ความไม่ไว้วางใจและสร้างความกลัวระหว่างประชาชนไทยพุทธและไทยมุสลิม นา ไปสู่ความไม่ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของตนเองและชุมชน
จากการศึกษาพบว่าข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้คือต้องการให้รัฐบาลยกเลิกนโยบายการ สนับสนุนอาวุธปื นในพื้นที่เนื่องจากไม่สามารถแก้ไขปัญหาในการสร้างความปลอดภัย ลดความ กลัวและการสร้างความไว้วางใจ แต่รัฐบาลควรสร้างความไว้วางใจเป็นยุทธศาสตร์หลักในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้เกิดความเข้าใจกันและร่วมถักทอความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนไทยพุทธและ ไทยมุสลิมตามแนวทางสันติวิธี