• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การวิเคราะห์การจัดการอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษา บริษัท ปิโตรเคมีและการกลั่นแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง

by ทิวาพร สุระพล

Title:

การวิเคราะห์การจัดการอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษา บริษัท ปิโตรเคมีและการกลั่นแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง

Other title(s):

Analysis of occupational, safety and environmental management: A case study of a petrochemical and distillation industry in Rayong Province

Author(s):

ทิวาพร สุระพล

Advisor:

จุฑารัตน์ ชมพันธุ์

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การดำเนินงานด้านการจัดการ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมของกรณีศึกษา บริษัท ปิโตรเคมีและการกลั่นแห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาให้กับบริษัทและหน่วยงานอื่นๆ  การวิจัยครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interviews) ร่วมกับการสังเกตการณ์ในพื้นที่และศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผู้ให้ข้อมูลหลักได้แก่ ผู้บริหาร พนักงาน ผู้รับเหมา ชุมชน และหน่วยงานของรัฐ ได้ประยุกต์หลักการของดัชนีชี้วัดความสำเร็จแบบสมดุล (Balanced Scorecard) พิจารณาประเด็นหลัก 4 ด้าน ประกอบด้วย ด้านประสิทธิผล ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเรียนรู้และการพัฒนา  และนำเครื่องมือ SWOT Analysis มาประกอบการวิเคราะห์    ผลการศึกษาพบว่า ด้านประสิทธิผล องค์กรมีแนวทางเป้าหมายชัดเจน ผู้มีส่วนได้เสียมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานขององค์กร องค์กรได้นำปัญหามาพิจารณากำหนดเป็นเป้าหมายในการดำเนินงาน พนักงานมีความรับผิดชอบในหน้าที่ ด้านผู้มีส่วนได้เสีย มีส่วนร่วมกับกิจกรรม องค์กรมีการสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรม ด้านการบริหารจัดการ ผู้บริหารได้ให้ความสำคัญ มีนโยบายและวิสัยทัศน์ที่ดี บุคลากรมีความรู้ความเชี่ยวชาญและเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน งบประมาณเพียงพอ มีการตรวจสอบติดตาม และประเมินผลอย่างสม่ำเสมอ และด้านการเรียนรู้และพัฒนา  องค์กรมีการสร้างความตระหนักให้ความรู้กับพนักงาน มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในองค์กร มีการปรับปรุงระบบอย่างต่อเนื่องรวมทั้งนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ในการดำเนินงาน เพื่อให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและเพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
The objective of this research is to study effecting factors to the occupational safety and environmental management system and to offer guidance for improvement. Data were corrected through In-Depth interview, observation and documental review. Key informants were management executive,    contactor, local communities and government agencies. This research are qualitative research which applying the principle of Balanced Scorecard consists of four criteria including; effectiveness, stakeholder, management, learning and development.    The study found that for management: perspective; the executives pay great attention to occupational safety and environmental system and possess a good policy and vision towards it. the employees have sufficient knowledge to perform their jobs. The budget is sufficient. The monitoring and evaluation systems are also set up as routine works. For stakeholder perspective; interested parties,employees, local communities and government sectors get involed in the organization is activities. For education development; the company raises the employees’ awareness of the importance of knowledge and utilizes technology within the organization.  For effectiveness,  the company has clear goals and employess, contractors and government sectors are satisfied with the company’s performance. The company also considered its problems and set up them as the company’s targets for continue improvement.

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

Subject(s):

อาชีวอนามัย
ความปลอดภัยในการทำงาน
สิ่งแวดล้อม
อาชีวอนามัย -- ไทย -- การจัดการ
ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม -- ไทย -- การจัดการ

Keyword(s):

e-Thesis
อาชีวอนามัยความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดความสำเร็จแบบสมดุล
ประสิทธิผล
ผู้มีส่วนได้เสีย

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

237 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/3777
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b199697e.pdf ( 4,333.04 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSEDA: Theses [92]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×