การเปรียบเทียบประสิทธิภาพผลการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อจากแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคและการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อจากภาคเอกชนของประเทศไทย
Files
Publisher
Issued Date
2014
Issued Date (B.E.)
2557
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
81 เเผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b192189
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
มัฑนา เฉลยขุน (2014). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพผลการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อจากแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคและการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อจากภาคเอกชนของประเทศไทย. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4117.
Title
การเปรียบเทียบประสิทธิภาพผลการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อจากแบบจำลองเศรษฐกิจมหภาคและการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อจากภาคเอกชนของประเทศไทย
Alternative Title(s)
A comparison of efficiency of inflation forecasting by macroeconomic model and inflation epectation from the private in Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาดังนี้ 1) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพผลการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อจากแบบจําลองทางเศรษฐกิจของธนาคารแห่งประเทศไทยและการคาดการณ์ อัตราเงินเฟ้อจากภาคเอกชนรวมถึงอธิบายลักษณะของความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น 2) เพื่อวิเคราะห์ ปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนของผลพยากรณ์อัตราเงินเดือน จากแบบจำลองทางเศรษฐกิจของ ธนาคารแห่งประเทศไทย 3) เพื่อวิเคราะห์สัดส่วนการถ่วงน้ำหนักของสมการการคาดการณ์แบบ ปรับตัวระหว่างอัตราเงินเฟ้อในปัจจุบันและอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ย ศึกษาโดยใช้ข้อมูลการพยากรณ์ อัตราเงินเฟ้อจากแบบจําลองเศรษฐกิจมหภาคและการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อที่มาจากการสอบถาม จากภาคเอกชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบเศรษฐกิจโดยจัดทําขึ้นโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ผล การศึกษาพบว่ากรณีการทดสอบการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในระยะสั้นการพยากรณ์จะมีความ เอนเอียงน้อยในไตรมาสที่ 1-5 และการพยากรณ์ที่ได้ใกล้เคียงกับอัตราเงินเฟ้อที่แท้จริง แต่ในการ พยากรณ์ไตรมาสที่ 6-9 พบว่ามีความเอนเอียงเพิ่มมากขึ้นหรือกล่าวได้ว่าในการทดสอบการพยา การณ์อัตราเงินเฟ้อทั่วไปนั้นสามารถอธิบายและอ้างอิงอัตราเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจริงได้ในระยะสั้นๆ สําหรับกรณีของการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานจะพบความเอนเอียงเกือบทุกไตรมาส ยกเว้นใน บางวิธีของการประเมินพบว่าการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานมีความไม่เอนเอียงเกือบทุกไตรมาส และการพยากรณ์มีค่าใกล้เคียงกับอัตราเงินเฟ้อที่แท้จริง สําหรับการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อพบว่ามี ความเอนเคียงเกิดขึ้นและค่าคาดการณ์ที่ได้มีความคลาดเคลื่อนไปจากอัตราเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจริงจาก ผลการทดสอบความแม่นยําในการพยากรณ์เบื้องต้นนั้นสามารถอธิบายลักษณะของความเอนเอียงที่ เกิดขึ้น โดยใช้การทดสอบ Dummy พบว่าความเอนเอียงที่พบในการทดสอบมีลักษณะของการพยากรณ์หรือคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อต่ําไป (Undercstimated) ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อสูงขึ้นและการ พยากรณ์หรือการคาดการณ์เงินเฟ้อสูงไป (Overestinated) ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อต่ำลงซึ่งเป็นไป ในทิศทางตรงกันข้ามกันโดยเกิดขึ้นเหมือนกันทั้งการพยากรณ์และการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อและ ปัจจัยที่มีผลต่อความคลาดเคลื่อนของผลของการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อจากแบบจําลองทาง เศรษฐกิจของธนาคารแห่งประเทศไทย พบว่าความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์ราคาน้ํามันนั้นจะ ส่งผลกระทบต่อความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ์อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน มากที่สุด และ ผลการทดสอบวิเคราะห์สัตส่วนการถ่วงน้ําหนักของสมการการคาดการณ์แบบ ปรับตัว (Adaptive Expectation) ระหว่างอัตราเงินเฟ้อในปัจจุบันและอัตราเงินเฟ้ยเนเลี่ย พบว่า สัดส่วนของการคาดการณ์อัตราเงินเฟ้อจะคาดการณ์ โดยการให้น้ําหนักของอัตราเงินเฟ้ยเฉลี่ย มากกว่าอัตราเงินเฟ้อ ณ เวลาปัจจุบันสามารถสรุปได้ว่าไม่ว่าเงินเฟ้อในปัจจุบันจะเป็นอย่างไร มุมมองของนักคาดการณ์นั้นจะมองว่าในที่สุดแล้วอัตราเงินเฟ้อที่เกิดขึ้นจะวกกลับเข้าสู่หาค่าเฉลี่ย ในที่สุด
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.(เศรษฐศาสตร์การเงิน))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2557