GSDE: Theses

Permanent URI for this collectionhttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/32

Browse

Recent Submissions

Now showing 1 - 20 of 84
  • Thumbnail Image
    Item
    Environmental cost of hydropower development case study : Xaiyaburi Hydropower Dam, LAO PDR.
    Phongphat Phanthavong; Adis Israngkura (National Institute of Development Administration, 2019)
    The controversial impacts of hydropower development are still debatable, especially when dams are constructed in the mainstream of multinational rivers. This study examines the impacts of the Xaiyaburi hydropower project constructed in the mainstream of the Mekong River in Bolikhamxay province, Lao PDR. Results from our Cost and Benefit Analysis indicated that the Xaiyaburi Dam is financially feasible with a positive financial net present value (FNPV) of $5,797,169,153 in its lifetime. In addition, this project is expected to earn an 8.26% financial internal rate of return (FIRR) per year; $1 spent as an investment in this project is expected to generate financially $2.18 in return. However, only the result from the financial cost and benefit analysis (FCBA) might not be enough to fully understand the impacts of hydropower development. We, therefore, extended the CBA analysis into broader issues by including the opportunity cost related to environmental impacts caused by the project into consideration. The opportunity cost considered in this study consisted of 2 categories, Used and Non-Used Value. While the Used Value is measured by the opportunity cost related to land loss, fish stock reduction and CO2 emission, NonUsed Value is measured by opportunity cost related to the local peoples’ willingness to pay (WTP) for environmental attributes improvement. Similar to the FCBA, we found economic feasibility for the project. It is estimated to yield an economic net present value (ENPV) of $545,113,968 in its lifetime, and $1 spent as an investment in this project is expected to generate only $1.05 in return. However, when considering the economic IRR value, we found infeasible growth of the project (0.96% of economic IRR). Moreover, the project NPV is highly sensitive to the change of revenue (1% reduction in revenue is expected to decrease the value of the ENPV by 19.60%) and the change of the Carbon tax (1% reduction in revenue is expected to decrease the value of the ENPV by 5.06%) respectively. Results of this study provided us with useful quantitative information for the government of Laos and other countries along the Lower Mekong Basin (LMB) to assist in decision making on the hydropower production plan, especially, to a project that will be constructed in the mainstream of a multinational river to ensure the implementation of an environmentally friendly hydropower program.
  • Thumbnail Image
    Item
    ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อราคาข้าวและความผันผวนของราคาข้าวในตลาดโลก
    ณัฐธิดา คงนิยม; อัธกฤตย์ เทพมงคล (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022)
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อราคาข้าวขาว ราคาข้าวหอมมะลิ และราคาข้าวบาสมาติ และราคาข้าวจาปอนิกาในตลาดโลก โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิและแบบจำลองระบบสมการหลายชั้น รวมทั้งประมาณค่าแบบจำลองด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด วิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบ 2 ขั้น และวิธีกำลังสองน้อยที่สุดทางอ้อม ผลการศึกษา พบว่า ราคาน้ำมัน อัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมของโลก และอัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ดัชนีราคาปุ๋ย ส่งผลกระทบต่อราคาข้าวขาว ราคาข้าวหอมมะลิ ราคาข้าวบาสมาติ และราคาข้าวจาปอนิกา สำหรับตัวแปรจำนวนของสถานะสัญญาซื้อขายที่เปิดในตลาดฟิวเจอร์ ในตลาด Chicago Board of Trade ซึ่งแสดงถึงการเก็งกำไร พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับราคาข้าวขาว และอัตราเงินเฟ้อของสหรัฐอเมริกาส่งผลกระทบเชิงบวกกับราคาข้าวจาปอนิกา นอกจากนี้ ราคาข้าวขาวและราคาข้าวหอมมะลิมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อกัน กล่าวได้ว่า ข้าวขาวและข้าวหอมมะลิเป็นสินค้าทดแทนกัน นอกจากนี้ การศึกษาความผันผวนของราคาข้าว จากการประมาณค่าความผันผวนของราคาข้าวขาว ราคาข้าวหอมมะลิ ราคาข้าวบาสมาติและราคาข้าวจาปอนิกา โดยใช้แบบจำลอง GARCH-X ในการประมาณค่าความผันผวน พบว่า ปริมาณเงินของโลกส่งผลกระทบเชิงบวกกับความผันผวนของราคาข้าวขาว และตัวแปรความผันผวนของดัชนีความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ รวมถึงปริมาณเงินของโลกส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความผันผวนของราคาข้าวหอมมะลิ ความผันผวนของดัชนีค่าระวางเรือส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความผันผวนของราคาข้าวหอมมะลิ และความผันผวนของราคาข้าวบาสมาติอีกด้วย สำหรับความผันผวนของราคาข้าวจาปอนิกา พบว่า ความผันผวนของดัชนีความผันแปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้และความผันผวนของดัชนีค่าระวางเรือส่งผลกระทบเชิงบวกต่อความผันผวนของราคาข้าวจาปอนิกา ในทางตรงกันข้ามปริมาณเงินของโลกส่งผลกระทบเชิงลบต่อความผันผวนของราคาข้าวจาปอนิกา
  • Thumbnail Image
    Item
    เพศและพฤติกรรมการออมใน สปป.ลาว
    Maniphone Suensom; ทองใหญ่ อัยยะวรากูล (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022)
    ปัจจุบัน งานวิจัยเชิงประจักษ์ในประเทศลาวที่ศึกษาเกี่ยวกับการออมของภาคครัวเรือนยังมีไม่เพียงพอ การศึกษาส่วนใหญ่ใช้ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างในจังหวัดและการออมในรูปแบบเงินสดเนื่องจากข้อจำกัดทางด้านข้อมูล งานวิจัยนี้จึงถือเป็นงานศึกษาครั้งแรกของประเทศลาวที่ศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบของเพศของหัวหน้าครัวเรือนในประเทศลาวต่อพฤติกรรมการออมของครัวเรือนในรูปแบบการออมที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้แบบจำลองโพรบิทและแบบจำลองโทบิท ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 10,741 ครัวเรือนทั่วประเทศ จากชุดข้อมูลการสำรวจแรงงานในประเทศ สปป.ลาว ที่ศูนย์สถิติแห่งประเทศลาวจัดสำรวจขึ้นเป็นครั้งแรก ผลจากการศึกษาชี้ให้เห็นว่าแม้หัวหน้าครัวเรือนเพศชายมีแนวโน้มที่จะออมและมีจำนวนเงินออมสูงกว่าหัวหน้าครัวเรือนเพศหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่หัวหน้าครัวเรือนเพศหญิงกลับมีแนวโน้มที่จะลงทุนในสินทรัพย์ประเภทบ้านสูงกว่า การศึกษานี้ สามารถชี้ให้เห็นมุมมองที่ชัดเจนเกี่ยวกับขอบเขตของอิทธิพลที่ส่งผลต่อการออม และสร้างความเข้าใจที่ลึกซึ้งถึงปัจจัยด้านเพศที่ส่งผลต่ออัตราการออมในระดับครัวเรือนของลาว เพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนระดมเงินออมและเป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายทางการเงินและการลงทุน
  • Thumbnail Image
    Item
    A feasibility study of developing a retirement community project in Thailand
    Luo, Yiting; Udomsak Seenprachawong (National Institute of Development Administration, 2022)
    Population aging was a global concern as many countries, including Thailand, had already become the aged society. However, most of the real estate developers were still focusing on conventional residential projects which were not suitable for elderly due to lack of facilities and services. Currently, the majority of Thai elderly had to choose between living under family support or moving into public-operated retirement community, in which their living condition could hardly be ensured. This study aimed to explore the possibility of private sector real estate developers to engage in the retirement project by determining the financial feasibility of a private-operated retirement project using cost benefit analysis. Market survey and semi-structured interviews were conducted prior to the analysis, and we found that under the current market demand, a retirement project could generate a positive net present value, however the return on investment was lower than conventional real estate project. Hence, financial support from the public sector might be needed in order to better motivate the private developers to engage in the retirement projects.
  • Thumbnail Image
    Item
    Relationship between financial and real sectors: implications for stable economic development [evidence from Thailand]
    Khalil, Muhammad Azhar; Santi Chaisrisawatsuk (National Institute of Development Administration, 2018)
    Economic real sector is essential for growth and development as its activities persuade progress of economic output. The sector generates better outcomes if it is accompanied with a healthier financial system; thus, advancement of financial sector is a means for the growth of real sector. This study reexamine the relationship between financial and real sectors of Thailand with the volatility analysis of GDP caused by development of financial market. The GARCH Model, Johansen-Juselius (1990) cointegration test, and vector error correction model (VECM) approach were employed on time series data over the first quarter of year 1993 until the second quarter of year 2017. Consistent with past studies, both the elements of capital market (i.e. bonds and stock markets) and the money market (i.e. credit to private sector by banks) bear a positive relationship to the GDP. Our results show that both markets help promoting economic growth. We can infer that differences in financial market composition and institutions do matter, as these three major sections – bond market, stock market, and banks– do not simultaneously develop and grow, but at a different level of their growth paths they complement each other. Our findings suggest that there exists interdependency between real sector and financial sector which in turn enlightens the effect of financial market development on the GDP growth.
  • Thumbnail Image
    Item
    Determinants of antenatal care utilization in Lao PDR
    Palath Phanthoulack; Saran Sarntisart (National Institute of Development Administration, 2017)
    The healthy state of mother and child is very important and if well-addressed may result in a greater potential in terms of human capital as well as in the labor force. This can further positively affect productivity and the economic growth rate. The purpose of this research is to study the factors influencing its optimal attendance, and to assess how these factors differ between regions. To achieve these objectives, secondary data were obtained from the Lao Social Indicator Survey (LSIS) conducted during 2011-2012 at both the national and regional levels. The logistic regression model was employed for analysis. The results revealed that maternal education level, the wealth of households (middle, rich, richest), mass media exposure (watched TV every day and listen to the radio less than once a week), and maternal residence were positively associated to probability of attending ANC services at least four times. Furthermore, maternal ethnicity (Khmu and Hmong), maternal religion (animist), marital status (separated) and women who reside in a southern region made it less and had lower probability of attendance in Lao PDR. The study recommends that the Lao government should encourage education among women, particularly beyond primary school level, and the enhancement of awareness among illiterate women about the benefits of using maternal health care services.
  • Thumbnail Image
    Item
    The influence of fiscal and financial policies on upgrading of regional industrial structure
    Jing, Chen; Apirada Chinprateep (National Institute of Development Administration, 2022)
    Policies to encourage economic development are different in different regions. Studies at home and abroad show that the financial development level and local GDP output value are relatively high in places with a high proportion of tertiary industry such as financial agglomeration and high-tech development level, and vice versa.
  • Thumbnail Image
    Item
    การจัดสรรพอร์ตการลงทุนเชิงพลวัตและการพยากรณ์ผลตอบแทนการลงทุน โดยใช้แบบจำลองการเปลี่ยนระบบแบบมาร์คอฟ
    ปวเรศ ปิยะจิตเมตตา; ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์ (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2022)
    การศึกษาในครั้งนี้ประยุกต์ใช้แบบจำลองการเปลี่ยนระบบแบบมาร์คอฟ (Markov-Switching) โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ประยุกต์ใช้แบบจำลองการเปลี่ยนระบบแบบมาร์คอฟ ในการประมาณค่าผลตอบแทนคาดหวัง ความแปรปรวน และความแปรปรวนร่วมระหว่างสินทรัพย์การลงทุนในพอร์ตการลงทุนประกอบด้วยหุ้นขนาดใหญ่ หุ้นขนาดเล็ก และตราสารหนี้รัฐบาล ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงเชิงพลวัตในภาวะตลาดต่าง ๆ จากนั้นจึงนำผลการประมาณค่าที่ได้ไปใช้ปรับน้ำหนักการลงทุนสำหรับการจัดสรรการลงทุนในสินทรัพย์เชิงพลวัต และส่วนที่ 2 ประยุกต์ใช้แบบจำลองการเปลี่ยนระบบมาร์คอฟในการพยากรณ์ผลตอบแทนหุ้น ผลการศึกษาในส่วนที่ 1 พบว่า แบบจำลองการเปลี่ยนระบบแบบมาร์คอฟ สามารถนำมากำหนดช่วงเวลาที่ตลาดอยู่ในภาวะกระทิงและหมี และพยากรณ์การปรับเปลี่ยนระบบในอนาคต โดยช่วงที่ตลาดอยู่ในภาวะตลาดกระทิง หุ้นขนาดใหญ่และหุ้นขนาดเล็กจะเป็นสินทรัพย์ที่มีผลตอบแทนและความเสี่ยงเหมาะสมในการจัดสรรน้ำหนักการลงทุน ในขณะที่ภาวะตลาดหมี การจัดสรรน้ำหนักการลงทุนเกือบทั้งหมดจะอยู่ที่ตราสารหนี้ซึ่งมีลักษณะเป็นสินทรัพย์ปลอดภัย เมื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินการของพอร์ตการลงทุน พบว่า การปรับพอร์ตการลงทุนเชิงพลวัต ตามผลการประมาณค่าในแบบจำลองเปลี่ยนระบบแบบมาร์คอฟ สามารถให้ผลการดำเนินงานเมื่อพิจารณาจากอัตราผลตอบแทนสะสม อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยต่อปี และค่า Sharpe ratio ที่ดีกว่าพอร์ตการลงทุนทั้งในกรณีการจัดสรรน้ำหนักเท่า ๆ กันในแต่ละสินทรัพย์ และการจัดพอร์ตามวิธีการ Mean-variance แบบปกติ ซึ่งผลการดำเนินงานที่ดีกว่าพบทั้งในกรณีการคำนวณค่าโดยใช้ข้อมูลในช่วงการประมาณค่า (In-Sample) และข้อมูลนอกช่วงการประมาณค่า (Out-of-Sample) นอกจากนี้ ผลการศึกษาในส่วนที่ 2 พบว่า แบบจำลองการเปลี่ยนระบบมาร์คอฟมีความแม่นยำในการพยากรณ์ผลตอบแทนหุ้นที่แม่นยำกว่าแบบจำลองเวคเตอร์ออโตรีเกรสชัน (Vector Autoregression)
  • Thumbnail Image
    Item
    Wage determination in LAO PDR : cognitive and socio-emotional skills
    Malaina Sadettan; Anan Wattanakuljarus (National Institute of Development Administration, 2022)
    This research investigates the significance of cognitive skills and socio-emotional skills in explaining wage variability in less-developed countries such as Lao PDR. The analysis is using an expanded Mincerian model based on data collected from the Skills toward Employment and Productivity (STEP) Household Survey which is a study conducted by the World Bank (2012). The results revealed that for a cognitive skill there are positive and significant relationships between an additional year of schooling, years of work experience and wages. For socio-emotional variables, conscientiousness and agreeableness show a consistently positive relationship with wages and there is a negative correlation between decision making and wages.
  • Thumbnail Image
    Item
    ประสิทธิภาพและปัจจัยความสำเร็จของตลาดอนุพันธ์ทางการเงินในเอเชีย
    ตฤณ สิทธิสวัสดิ์; ปริยดา สุขเจริญสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
    งานศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงประสิทธิ ภาพและปัจจัยความสำเร็จของตลาดอนุพันธั ทางการเงินในเอเชีย 6 ประเทศ ได้แก่ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์เกาหลใต้ ญี่ปุน และ ฮ่องกง โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ประสิทธิภาพของตลาดอนุพันธ์ ทางการเงินในเอเชียและปัจจัยความสำเร็จของอนุพันธ์ทางการเงินในเอเชีย เพื่อใช้ในการกำหนดทิศทางในการพัฒนาตลาดอนุพันธ์ ทางการเงินของไทยให้มีประสิทธิภาพและสามารถสนับสนุนการพัฒนาของตลาดทุนไทย ในส่วนแรกได้วัดประสิทธิภาพของตลาดอนุพันธ์ทางการเงินของกลุ่มประเทศดังกล่าว ใน 3 แง่มุมได้แก่ประสิทธิภาพในการป้องกันความเสี่ยง พฤติกรรมการเคลื่นไหวของราคา อนุพนธ์และความสัมพันธ์ ระหว่างตลาดอนุพันธ์ ทางการเงืนและตลาดสินค้ าอ้างอิงโดยใช้ข้อมูล ราคาของสัญญาซื้อขายล่วงหน้าดัชนีหลักทรัพย์ และดัชนีหลักทรัพย์ อ้างอิงในช่วง พ.ศ. 2553 – 2557 ด้วยวิธีการวิ เคราะห์ทางสถิติ 3วิธีได้แก่ วิธิ Minimum Variance Model, Variance Ratio และ Vector Error Correction Model ผลการศึกษาพบว่าตลาดอนุพันธ์ ในทุกประเทศที่ทําการศึกษามีพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของราคาอนุพนธ์เป็นแบบสุ่ม ซึ่งแสดงให้เห็นความมีประสิทธิภาพของตลาดในระดับ Weak Form ทำให้ไม่สามารถใช้ข้อมูลในอดีตมาทำกำไรอย่างสม่ำเสมอได้แต่เมื่อเปรียบเทียบแล้ว ตลาดอนุพันธ์ของประเทศญี่ปุ่นเป็นตลาดที่มีประสิทธิ ภาพสูงที่สุด โดยมีประสิทธิภาพในการป้องกันความเสี่ยงในระดับสูงและการปรับตัวของ ความสัมพันธ์ระหว่างตลาดอนุพนธ์และตลาดสินค้าอ้างอิงที่เร็วที่สุดในกลุ่มประเทศที่ทำการ ทดสอบ รองลงมาคอตลาดอนุพันธ์ของประเทศสิงคโปร์ในขณะที่ตลาดอนุพนธ์ของไทยอยู่ใน ลําดับที่ห้า และลําดับสุดท้ายคือตลาดอนุพนธ์ของประเทศมาเลเซียที่ประสิทธิภาพต่ำกว่า ประเทศอันที่ทำาการศึกษา ดังนั้น ในการใช้อนุพันธ์เพื่อป้องกันความเสี่ยงในระยะสิ้นสามารถทำได้ยกเว้นในประเทศมาเลเซีย ซึ่งอาจต้องมีระยะเวลาในการป้องกันความเสี่ยงที่มากพอในส่วนที่สองมีปัจจัยที่เสี่ยงผลต่อความสําเร็จของอนุพันธ์ทางการเงิน โดยรวบรวม ข้อมูลเป็นแบบอนุกรมภาคตัดขวางของอนุพันธ์ แต่ละตัว ตั้งแต่เริ่มเปิดให้ทำการซื้อขายจากนนั้น จึงนำมาวิเคราะห์ด้วยสมการถดถอยตามวิธี Panel Regression เพื่อหาแบบจำลองที่เหมาะสมที่สุด ได้ผลลัพธ์จากการศึกษาว่าปัจจัยที่มีผลต่อความสาเร็จของอนุพันธ์ทางการเงินในเอเชียคือ ขนาดของตลาดสินค้าอ้างอิง สภาพคล่องของตลาดสิ้นค้าอ้างอิง อายุของอนุพันธ์และอนุพันธ์ที่เป็นสัญญาซื้อขายล่วงหน้า โดยทในตลาดอนุพันธ์ ทางการเงินของไทย มาเลเซีย และสิงคโปร์นั้น ผลการศึกษาแสดงพิ่มเติมว่า ช่วงราคาเสนอซื้อขายขั้นต่ำและความเป็นอนุพันธ์ชนิดแรกที่มีการซื้อขายในตลาดส่งผลต่อปริมาณการซื้อขายของอนุพันธ์ทางการเงินอย่างมีนัยสำคัญ
  • Thumbnail Image
    Item
    พฤติกรรมของนักลงทุนรายย่อยในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
    ปิยวัฒน์ ปัญญา; ปริยดา สุขเจริญสิน (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2015)
    วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งเน้นการศึกษาถึงพฤติกรรมการลงทุนของนักลงทุนรายย่อยใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถาม เพื่อนําไปสู่การวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผล ต่อการตัดสินใจลงทุนและพฤติกรรมของนักลงทุน จากการศึกษาส่วนแรกพบว่า นักลงทุนส่วนใหญ่มีรอบการซื้อขายถี่ มีวัตถุประสงค์หลัก ในการลงทุนคือต้องการกําไรส่วนต่างของราคา โดยนักลงทุนรายย่อยให้ความสําคัญกับการใช้ ปัจจัยจุลภาคในการตัดสินใจลงทุนมากที่สุด และมีการตอบสนองต่ออิทธิพลภายนอกในสัดส่วน ที่สูง ซึ่งแสดงถึงความไม่เป็นผู้มีเหตุผล ต่างจากทฤษฎีการเงินดั้งเดิม นอกจากนี้ ในส่วนของ การวิเคราะห์เชิงอนุมาน พบว่า ระดับความสามารถในการยอมรับความเสี่ยงมีความสัมพันธ์กับ การเลือกลงทุนในสินทรัพย์ทุกประเภท โดยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเลือกลงทุนในสินทรัพยท์ มีความเสี่ยงระดับปานกลางค่อนข้างสูง คือปัจจัยเชิงคุณภาพของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งแตกต่างจากปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเลือกลงทุนในสินทรัพย์กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงและ สูงมาก ที่ปัจจัยมหภาคและปัจจัยเชิงเทคนิคเป็นปัจจัยสําคัญ ทั้งนี้ปัจจัยจุลภาคเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกลงทุนในสินทรัพย์กลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงเท่านั้น การศึกษาส่วนที่สอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัย ที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิด พฤติกรรมหลีกเลี่ยงความเสียใจและเสาะหาความภาคภูมิใจของนักลงทุนรายย่อย ซึ่งสืบ เนื่องจากผลการศึกษาในส่วนแรกที่แสดงให้เห็นว่า ในกรณีที่อยู่ในสถานการณ์ขาดทุน นักลงทุน รายย่อยส่วนใหญ่จะมีพฤติกรรมไม่ขายหลักทรัพย์เพื่อตัดการขาดทุน ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวไม่ สอดคล้องกับการเป็นผู้หลีกเลี่ยงความเสี่ยงของนักลงทุนรายย่อย ตามสมมติฐานทางการเงิน ดั้งเดิม ผลการศึกษาจากการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติคแบบทวิพบว่า ปจัจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมหลีกเลี่ยงความเสียใจและเสาะหาความภาคภูมิใจของนักลงทุนรายย่อย ได้แก่ ความสามารถในการยอมรับความเสี่ยงของนักลงทุนรายย่อย รวมถึงการใช้ปัจจัย จลุภาค และปัจจัยเชิงเทคนิคในการตัดสินใจลงทุน ผลการศึกษาจากวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในตลาดทุน ในการกําหนดนโยบายต่าง ๆ เพราะนักลงทุนเป็นกลไกสําคัญในการส่งเสริมการพัฒนาตลาด ทุนให้มีความยั่งยืน อีกทั้งความเข้าใจในปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกลงทุนในสินทรัพย์ที่มีระดับความเสี่ยงต่างกัน ทําให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาข้อมูลและเครื่องมือต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของนักลงทุนรายย่อยในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้
  • Thumbnail Image
    Item
    การมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของผู้สูงอายุไทย กรณีศึกษาเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพสำหรับผู้สูงอายุ และปัจจัยแวดล้อม
    วิภู สังข์สาย; ทองใหญ่ อัยยะวรากูล (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
    จากการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมสูงอายุส่งผลให้มีสัดส่วนผู้สูงอายุอยู่ในกำลังแรงงานเพิ่มขึ้น แต่ถ้ามีปัจจัยที่ทําให้ผู้สูงอายุออกจากกำลังแรงงานมากขึ้นอาจทำให้เกิดปัญหาการขาดแคลนแรงงานได้นําไปสู่ประเด็นหลักของการศึกษานี้คือเพื่อศึกษาผลกระทบจากการได้รับเงิน สงเคราะห์เพื่อการยั้งชีพสําหรับผู้สูงอายุ และปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ที่มีต่อการมีส่วนร่วมในกำลัง แรงงานของผู้สูงอายไทยโดยได้ประยุกต์ แนวคิดด้านอุปทานแรงงานของสำนักนีโอคลาสสิคเขากับตัวแปรการได้รับเงินสงเคราะห์เพื่อการยั้งชีพสำหรับผู้สูงอายุ มีกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายเป็นประชากร ไทยจากทั่วทั้งประเทศที่มีอายุระหว่าง 60 – 99 ปีในปี 2555 จํานวน 2,699 คน จากข้อมูลการสํารวจเพื่อติดตามภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (โดยใช้ตัวอย่างซ้ำ ) เก็บรวบรวมโดย สํานักงานสถิติแห่งชาติปี 2550 และปี 2555 แบ่งการศึกษาออกเป็นสองส่วน คือ วิเคราะห์ คุณลักษณะพื้นฐานเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุที่อยู่ในและนอกกำลังแรงงาน และ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพสำหรับผู้สูงอายุกับการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุด้วยแบบจำลองโพรบิต และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างการได้รับเงินสงเคราะห์เพื่อการยั้งชีพสำหรับผู้สูงอายุกับจำนวนชั่วโมงการทำงานเฉลี่ยต่อ สัปดาห์ของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุด้วยแบบจําลองโทบิต จากการศึกษาพบว่าการได้รับเงิน สงเคราะห์เพื่อการยั้งชีพสำหรับผู้สูงอายุส่งผลกระทบในเชิงลบต่อการมีส่วนร่วมในกำลังแรงงานและจำนวนชี่วโมงการทำงานเฉลี่ยต่อสัปดาห์ของกลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 60 – 69 ปี ในปี 2555 แต่ไม่ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสําคญทางสถิติต่อกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 70 – 99 ปี โดย ปัจจัยด้านสุขภาพ การเงิน และการเข้าถึงงาน เป็นปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ที่มีนับสำคัญทางสถิติ
  • Thumbnail Image
    Item
    ผลกระทบของการจัดเก็บภาษีมลพิษทางน้ำต่อราคาสินค้าและสวัสดิการสังคม
    ปณิชา วีรปัญญากูลทวี; อนันต์ วัฒนกุลจรัส (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2016)
    การจัดเก็บภาษีมลพิษทางน้ำ ในแต่ละสาขาการผลิตของภาคอุตสาหกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา มลพิษทางน้ำที่เกิดขึ้นในประเทศ ถือว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญของภาครัฐในการช่วยให้ ผู้ประกอบการในแต่ละสาขาการผลิตได้มีการตระหนักถึงต้นทุนที่แท้จริงที่เกิดขึ้นต่อระบบ เศรษฐกิจเพื่อนำไปสู่การตดัสินใจในการผลิตสินค้าและบริการที่มีประสิทธิภาพ แต่การจัดเก็บภาษี มลพิษทางน้ำกับภาคอุตสาหกรรมย่อมส่งผลกระทบต่อราคาสินค้าและสวัสดิการสังคมในประเทศ ดังน้ันวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการหามูลค่าของการอุดหนุนการใช้น้ำใน ภาคอุตสาหกรรมและเพื่อศึกษาถึงผลกระทบต่อราคาสินค้าและสวัสดิการสังคม เมื่อมีการยกเลิก การอุดหนุนการใช้น้ำในภาคอุตสาหกรรมผ่านทางการจัดเก็บภาษีมลพิษทางน้ำ ซึ่งผลการศึกษาที่ ได้เป็นประโยชน์ต่อผู้กำหนดนโยบาย เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจในการออกแบบและพัฒนานโยบายในการจัดเก็บภาษีมลพิษทางน้ำในรูปแบบที่เหมาะสมกับประเทศ สำหรับข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้นำข้อมูลมาจากตารางเมตริกซ์บัญชีสังคมปี พ.ศ. 2550 ซึ่งประกอบไปด้วย 38 สาขาการผลิต และข้อมูลปริมาณน้ำใช้และปริมาณน้ำเสียในภาคอุตสาหกรรม เป็นฐานข้อมูลหลักในการวิเคราะห์ โดยวิธีการศึกษาได้มีการประยุกต์ใช้แบบจำลอง Leontief Price Model ในการหาผลกระทบต่อราคาสินค้าโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการคำนวณค่าการปล่อย มลพิษทางน้ำ และการคำนวณอัตราภาษีที่จัดเก็บจากผู้ก่อมลพิษโดยตรง เพี่อประมาณค่าอัตราภาษี มลพิษทางน้ำที่ใช้จัดเก็บกับ ภาคอุตสาหกรรม ในส่วนของการวิเคราะห์ผลกระทบต่อสวัสดิการ สังคมได้ทำการวิเคราะห์โดยแบ่งออกเป็น 2 สถานการณ์เปรียบเทียบกัน ระหว่างสถานการณ์ปกติ (ไม่มีการยกเลิกการอุดหนุนการใช้น้ำ ในภาคอุตสาหกรรม) และสถานการณ์ที่มีการยกเลิกการอุดหนุนการใช้น้ำในภาคอุตสาหกรรมผ่านทางการจัดเก็บภาษีมลพิษทางน้ำจากการศึกษา พบว่า การจัดเก็บภาษีมลพิษทางน้ำในภาคอุตสาหกรรมส่งผลกระทบต่อ ราคาสินค้าทำให้ราคาสินค้าในแต่ละสาขาการผลิตมีระดับราคาสินค้าเพิ่มสูงขึ้นแตกต่างกัน ใน ส่วนของผลกระทบต่อสวัสดิการสังคม พบว่า เมื่อระดับ ราคาสินค้าสูงขึ้นส่งผลให้ครัวเรือนที่มี รายได้ต่ำ มีการใช้จ่ายในการบริโภคสินค้าและบริการลดลงในอัตราที่มากกว่าครัวเรือนที่มีรายได้สูง ทำนองเดียวกันเมื่อระดับราคาสินค้าสูงขึ้นเพื่อรักษาระดับการบริโภคสินค้าและบริการของ ครัวเรือนให้อยู่ในระดับเดิม ครัวเรือนที่มีรายได้สูงมีความต้องการในการชดเชยรายได้มากกว่า ครัวเรือนที่มีรายได้น้อย
  • Thumbnail Image
    Item
    Financial literacy, asymmetric information and credit accessibility: case study of Lao's small and medium enterprise
    Vilasack Srithirath; Pariyada Sukcharoensin (National Institute of Development Administration, 2021)
    Small and Medium Enterprise (SMEs) is a fundamental part of economic growth worldwide, ensuring sustainable growth, job creation, reducing income inequality, poverty reduction and highly conductive to economic growth in the Lao PDR. However, consistently with other SMEs worldwide, SMEs in Laos are also confronting with many obstacles especially financial access. So, this study aims to investigate the impact of financial literacy, reduction in asymmetric information and credit access for SMEs in Lao PDR. The questionnaire used to survey the financial literacy is the combination of financial knowledge, financial behavior, financial attitude, and some advanced financial concepts. Besides that, to assess the level of asymmetric information, this study uses the satisfaction of both lender and borrower about the information that provided and received from both parties. The methodology used in this study is binary logistic regression and the SMEs owners who running their business in Vientiane were used as samples. The results reveal positive and significant relationship between financial literary, reduction in asymmetric information and credit access for SMEs. Furthermore, we found that education level is positive and significantly related to financial literacy. Higher financial literacy then lowers the level of asymmetric information which in turn affects the credit access of SMEs.
  • Thumbnail Image
    Item
    Determinants of corporate value: evidence from the film and tv enterprises of neeq market in China
    Ying, Pan; Pariyada Sukcharoensin (National Institute of Development Administration, 2020)
    The main purpose of this paper is to research the impact of the factors on the valuation of film and television companies in the National Equities Exchange and Quotations (NEEQ) market in China. The sample of research consisted of 88 film and television companies in the NEEQ market. Data related to the indicators were collected, where 300 unbalanced panel data were obtained from 2013 to 2018. Then, we established a fixed-effects regression model with demonstrated the impact of financial factors, non-financial factors and specific factors on firm value. The conclusion is that financial factors (Leverage, Asset Utilization, Growth Ability), non-financial factors (Equity Concentration, Firm Size, Established Time) and specific factors (Intellectual capital) have a significant impact on the enterprise value of film and television company in NEEQ market. And Equity Concentration has obvious advantages for increasing corporate value in this research. When the concentration of equity increases, more supervision work will be carried out, which will help reduce supervision costs and increase corporate value. The research limitation is we can only obtain information from the annual report for some specific factors, there is a subjective judgment, it may cause errors to the research. We hope that the related studies in the future can expand the time span of the sample and take a different measurement of specific factors. Based on the result of this paper, we will know how factors affect the firm value in film and television company. And, then we will propose the advice on evaluating the film and television's company for investors.
  • Thumbnail Image
    Item
    The impact of population aging on consumption structure: a case of Southwest and South China
    Qi, Xiao; Athakrit Thepmongkol (National Institute of Development Administration, 2021)
    Since China entered an aging society at the end of the twentieth century, the proportion of the elderly population has been increasing and the aging rate has been accelerating, and it has become one of the countries with the fastest population aging development in the world. The deepening of population aging means the gradual disappearance of the demographic dividend, which will have an important impact on my country's economic development. Since 2008, world economic growth has slowed down. With the tightening of the international market, my country's economic growth model that mainly relies on investment and import and export has been affected, and the problem of insufficient domestic consumption has begun to become prominent. The lack of domestic consumption will make economic growth lack of robustness and sustainability. Therefore, increasing domestic consumption is very important for stimulating economic growth. Especially in the context of the gradual deepening of the aging of the population in our country, the elderly, as a special consumer group, have different consumption patterns from people of other ages. The elderly has special needs for various goods and services, so the accelerating rate of population aging is bound to affect my country's consumption structure. China has a vast territory, and previous studies on population aging have used the entire country as the research object. The empirical results obtained cannot be well applied to specific provinces and regions, due to the important strategic and economic status of Southwest and South China, to understand the impact of population aging on the consumption structure of urban residents in southwest and south China has great significance. Therefore, this article uses consumption as a starting point to study the impact of population aging of southwest and south China on urban residents’ consumption structure, and corresponding suggestions based on the results of the research which are intended to play a certain reference role in coordinating the development of population and economy. This article first introduces the mechanism of population aging on the consumption structure of residents in detail and explains the impact of population aging on the consumption structure of residents from a theoretical level; secondly, The present situation and characteristics of population aging and resident consumption structure in southwest and south China are described in detail.Next, with urban residents in the southwest and south of China as the main body, select the panel data of five provinces in southwest and south of China from 2000 to 2018, Through the establishment of a suitable dynamic panel regression model to explore the impact of population aging on seven types of consumption expenditure of urban residents. Here is not only a regression on the proportion of commodity consumption, but also a regression on consumption expenditures to make the regression results completer and more reliable. The main conclusions are as follows: First, China's aging population has reduced the overall consumption of food, clothing and daily necessities and services, education, and entertainment. Second, China's aging population will increase consumer spending on housing, healthcare, transportation, and communications. Finally, based on the theoretical and empirical analysis, the paper puts forward relevant policy recommendations according to the empirical results of the impact of population aging on the consumption structure of urban residents in southwest and south China.
  • Thumbnail Image
    Item
    การกำหนดเขตเศรษฐกิจไม้สักในประเทศไทย
    ปัญญาพร สำเร็จเฟื่องฟู; อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2020)
    การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิเคราะห์กำหนดเขตเศรษฐกิจไม้สักในประเทศไทย และแนวทางในการเลือกรูปแบบปลูกสัก โดยการศึกษาความคุ้มค่าทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร์ของการปลูกสักรายจังหวัด แต่ละรูปแบบในประเทศไทย ด้วยวิธีการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน (Cost-Benefit Analysis)  กำหนดระยะเวลาของการวิเคราะห์เท่ากับ 20 ปี (ปีฐาน 2562) และอัตราคิดลดเท่ากับร้อยละ 3 และตัวชี้วัด คือ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุน (BCR) และอัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) และวิเคราะห์ความอ่อนไหวของโครงการ ซึ่งสามารถแบ่งรูปแบบการปลูกสักเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ 1)การปลูกสักเชิงเดี่ยว 2)การปลูกสักร่วมกับกระถินณรงค์ในลักษณะไม้ 2 ชั้น และ 3)การปลูกสักในลักษณะบ้านสวน การแบ่งแยกรูปแบบของการปลูกสักเพื่อแสดงให้เห็น การสร้างความมั่นคงทางด้านรายได้ และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้เพื่อเป็นการตอบปัญหาว่า เกษตรกรจังหวัดใดบ้างสามารถปลูกสักแล้วได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่าทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร์ รัฐควรพิจารณาส่งเสริมการปลูกสักในพื้นที่ใดบ้าง การศึกษาความคุ้มค่าทางการเงินและทางเศรษฐศาสตร์ในการปลูกสัก เพื่อนำไปสู่การกำหนดเขตเศรษฐกิจไม้สักให้ความสำคัญด้านความแตกต่างของแต่ละจังหวัดในด้าน ศักยภาพของพื้นที่ มูลค่าที่ดิน และระยะทางขนส่ง ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มจังหวัดในเขตเศรษฐกิจไม้สักเหมาะสมมาก ได้แก่ กาญจนบุรี อุทัยธานี พิจิตร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ พิษณุโลก สุโขทัย ตาก อุตรดิตถ์ แพร่ ลำปาง ลำพูน น่าน และพะเยา  กลุ่มจังหวัดในเขตเศรษฐกิจไม้สักเหมาะสมปานกลาง ได้แก่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ สุพรรณบุรี สิงห์บุรี ราชบุรี อ่างทอง ชัยนาท สระเเก้ว ปราจีนบุรี ลพบุรี สระบุรี นครสวรรค์ จันทบุรี นครนายก พระนครศรีอยุธยา ระยอง เพชรบุรี ฉะเชิงเทรา ประจวบคีรีขันธ์ ร้อยเอ็ด สุราษฎร์ธานี บุรีรัมย์ และชัยภูมิ  กลุ่มจังหวัดในเขตเศรษฐกิจไม้สักเหมาะสมน้อย ได้แก่ นครปฐม สุรินทร์ ขอนแก่น ยโสธร กาฬสินธุ์ ศรีสะเกษ ชุมพร เลย มหาสารคาม หนองบัวลำภู นครราชสีมา ตราด มุกดาหาร อุบลราชธานี อุดรธานี สมุทรสงคราม สกลนคร ระนอง หนองคาย สมุทรสาคร นครพนม สงขลา ตรัง นครศรีธรรมราช พังงา บึงกาฬ พัทลุง ปทุมธานี ยะลา ปัตตานี กระบี่ นราธิวาส สตูล และชลบุรี  นักลงทุนและเกษตรกรที่อยู่ในเขตจังหวัดกลุ่มเขตเศรษฐกิจเหมาะสมมาก สามารถพิจารณาลงทุนปลูกสักตามรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะของตนเอง การเลือกรูปแบบการปลูกสักขึ้นอยู่กับสภาพคล่องทางการเงินเป็นหลัก หากผู้ลงทุนปลูกสักมีความต้องการใช้เงินจากพื้นที่ปลูกสักเป็นแหล่งรายได้หลักก็จำเป็นต้องเลือกปลูกสักในลักษณะบ้านสวนเพื่อเป็นแหล่งอาหารและมีรายรับตลอดปี แต่หากผู้ลงทุนปลูกสักมีงานประจำและไม่เร่งร้อนที่จะใช้เงิน อาจพิจารณาถึงระยะเวลาและคนดูแลในการดูแลและจัดการ ซึ่งหากมีการสำรวจความต้องการไม้ระยะสั้นในพื้นที่และมีแหล่งรับซื้อไม้ระยะสั้นและพืชสมุนไพรชนิดอื่นๆ ผู้ลงทุนปลูกสักอาจใช้การปลูกแบบผสมผสานลักษณะบ้านสวน เพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่มากขึ้น แต่หากไม่มีแหล่งรับซื้อไม้ระยะสั้นหรือพืชสมุนไพรอาจพิจารณาเป็นการปลูกสักเชิงเดี่ยว ซึ่งการปลูกสักแบบผสมผสานลักษณะไม้ 2 ชั้นกับการปลูกสักเชิงเดียวให้ผลการศึกษาที่ใกล้เคียงกันขึ้นอยู่กับศักยภาพของพื้นที่ในการปลูกสัก การทราบถึงกลุ่มจังหวัดที่มีความเหมาะสมมากในการปลูกสักจะเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนและที่สำคัญคือทำให้รัฐบาลกำหนดเขตเศรษฐกิจไม้สักได้ ซึ่งจะนำมาสู่การให้การสนับสนุนในรูปแบบต่างๆ เช่น โครงข่ายการตลาด ระบบรับรองแหล่งที่มาของไม้สัก การบริการขนส่ง และความสะดวกด้านกฎหมาย เป็นต้น
  • Thumbnail Image
    Item
    The economics impact of financial integration: a case of Chengdu-Chongqing economic circle
    Dingyi, Qin; Athakrit Thepmongkol (National Institute of Development Administration, 2021)
    Finance is the general hub of modern market economy operation and plays a non-substitutable important position in economic progress. The fact of financial integration in promoting the economy has been confirmed in some places, but for the Chengdu-Chongqing Economic Circle, there is still little research for this "new topic", this field of research is still waiting for people to explore. This paper firstly combs the relevant theories of financial integration. On this basis, the sixteen cities that constitute the Chengdu-Chongqing Economic Circle are selected as the research areas. Financial integration is set as the main explanatory variable, and the GDP is chosen to be the main explained variable, then we collected and established the panel data for 2010 to 2019. By processing and testing the data, this paper constructs a fixed-effect model and spatial regression for analysis. The results show that the development of financial integration can promote economic development in Chengdu-Chongqing Economic Circle. 
  • Thumbnail Image
    Item
    The elements of tourist satisfaction and loyalty with cultural/heritage sites: evidence from Ayutthaya
    Panyu, Cao; Udomsak Seenprachawong (National Institute of Development Administration, 2021)
    This study aims to analyze the factors of tourists’ motivation, expectations, and satisfaction by establishing a theoretical model to quantify their joint impact on the tourists’ loyalty. Collecting data from 400 participants of Chinese tourists who visited ‘Ayutthaya Province’ of Thailand, this research by employing both Structural Equation Modelling (SEM) and descriptive Analysis, finds that the elements of tourists’ expectations (e.g., accessibility, historic buildings) and motivation (e.g., to visit historical place/culture, religious places, income) have a significant positive impact on their overall level of satisfaction. Further analysis indicates that higher satisfaction leads to higher tourists’ loyalty to the destination. This research contributed to the literature on heritage marketing by keeping in view the cultural differences and analyzing various factors that can influence Chinese tourists’ perception of visiting cultural-oriented destinations. The research setting of this study allows us to better understand Chinese tourists' views on Thai heritage culture experiences, value creation, image building, behavioural intentions, and their overall level of satisfaction. The government of Thailand can develop important policies amid boosting heritage/cultural-oriented tourism to ensure its sustainability and economic performance of the sector.  Implications for management and directions for future research are provided.
  • Thumbnail Image
    Item
    The relationship of openness and investment based on China's provincial panel data
    Yanyun, Zhang; Athakrit Thepmongkol (National Institute of Development Administration, 2020)
    This thesis investigates whether openness determines investment in each region of China over the period of 2002 to 2017. In particular, the investment is decomposed into the foreign direct investment and the domestic investment. Using the panel data analysis, the results show that openness has no impact on all types of investment  except the positive impact on FDI in the east of China. This implies that more policies should be implemented in the western region to be more foreigner-friendly in order to attract more FDI.