• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
  • GSEDA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การวิเคราะห์การจัดการขยะมูลฝอยและยุทธศาสตร์สาหรับกรุงเทพมหานคร

by ปาลิกา วรรณวิไล

Title:

การวิเคราะห์การจัดการขยะมูลฝอยและยุทธศาสตร์สาหรับกรุงเทพมหานคร

Other title(s):

Analysis of solid waste management and strategies for Bangkok Metropolitan

Author(s):

ปาลิกา วรรณวิไล

Advisor:

จำลอง โพธิ์บุญ

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการสิ่งแวดล้อม

Degree department:

คณะบริหารการพัฒนาสิ่งแวดล้อม

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2016

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การจัดการขยะมูลฝอยของกรุงเทพมหานครยังพบปัญหาอุปสรรคหลายประการ และในปี 2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้กําหนดให้การจัดการขยะเป็นวาระแห่งชาติที่ต้อง ดําเนินการอย่างเร่งด่วน ผู้วิจัยจึงทําการศึกษาสถานการณ์และปัญหาการจัดการขยะขากบริบทเดิม ของกรุงเทพมหานคร (กทม.) ด้วยวิธีการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิและเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง แล้วทําการวิเคราะห์ช่องว่างทางกลยุทธ์ (Gap Analysis) และประเมิน สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร (SWOT Analysis) เพื่อนําไปสู่การจัดทํา ยุทธศาสตร์การจัดการขยะตามมิติของหลักการ Balanced Scorecard (BSC
ผลการศึกษาช่องว่างทางกลยุทธ์พบว่า ช่องว่างสําคัญของกทม. คือ ประเด็นการสร้างวินัย ของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน และการวิเคราะห์ SWOT พบว่า จุดแข็งของกทม. คือ มีการ กําหนดนโยบาย โครงสร้างการบริหารงาน งบประมาณ บุคลากร รวมถึงการใช้เทคโนโลยีในการ จัดการขยะมูลฝอยอย่างชัดเจน จุดอ่อนของกทม. คือ การขาดแคลนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ การขาค แคลนงบประมาณ รวมถึงขาดการประสานที่ดีระหว่างเจ้าหน้าที่กับประชาชน โอกาส คือ กทม. มี การรวบรวมฐานข้อมูลชุมชน ทําให้ทราบถึงสภาพสังคมของชุมชน และสามารถนําไปสนับสนุน ในการสร้างความร่วมมือจากชุมชนต่าง ๆ ได้ รวมถึงการได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่ มีความเชี่ยวชาญในการจัดการขยะ อุปสรรค คือ กทม. มีประชากรแฝงจํานวนมาก ทําให้ควบคุม พฤติกรรมหรือขอความร่วมมือในเรื่องการจัดการขยะเป็นไปได้ยาก และประชาชนส่วนใหญ่ยังขาด จิตสํานึกต่อการจัดการขยะ
ยุทธศาสตร์ 5 ด้าน ที่นําเสนอ คือ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการขยะ มูลฝอยและของเสียอันตราย ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างวินัยและการมีส่วนร่วมรับผิดชอบของ ประชาชนและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอย ยุทธศาสตร์ที่ 3 การบูรณาการ กระบวนการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างเหมาะสม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาศักยภาพของ กรุงเทพมหานครในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย และยุทธศาสตร์ที่ 5 การวิจัยและพัฒนาองค์ ความรู้และเทคโนโลยีในการจัดการขยะมูลฝอย รวมถึงการกําหนดกลยุทธ์หลักของแต่ละ ยุทธศาสตร์ พร้อมทั้งนําเสนอแนวทางการขับเคลื่อนกลยุทธ์เพื่อที่จะสามารถนํากลยุทธ์ไปสู่การ ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการสิ่งแวดล้อม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559

Subject(s):

การจัดการขยะ -- กรุงเทพ

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

233 เเผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4132
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b196943.pdf ( 7,005.91 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSEDA: Theses [92]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×