ความเข้าใจในเนื้อหาภาษาที่สองผ่านสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย:กรณีศึกษา Redundancy Principle และ Modality Principle ในสื่อมัลติมีเดียภาษาญี่ปุ่น
Files
Publisher
Issued Date
2018
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
133 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b204590
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ณัฐญา ห่านรัตนสกุล (2018). ความเข้าใจในเนื้อหาภาษาที่สองผ่านสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย:กรณีศึกษา Redundancy Principle และ Modality Principle ในสื่อมัลติมีเดียภาษาญี่ปุ่น. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4493.
Title
ความเข้าใจในเนื้อหาภาษาที่สองผ่านสื่อการเรียนรู้มัลติมีเดีย:กรณีศึกษา Redundancy Principle และ Modality Principle ในสื่อมัลติมีเดียภาษาญี่ปุ่น
Alternative Title(s)
Second language comprehension in multimedia learning material : a case study of redundancy principle and modality principle in Japanese multimedia material
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพิสูจน์กฎการสร้างสื่อมัลติมีเดีย Redundancy Principle และ Modality Principle ของ Richard E. Mayer ในกรณีที่สื่อมัลติมีเดียนำเสนอเนื้อหาด้วยภาษาญี่ปุ่น และผู้รับชมสื่อเป็นชาวไทยผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาที่สอง ดำเนินการวิจัยโดยการแบ่งกลุ่มตัวอย่างจำนวน 120 คนออกเป็นกลุ่ม PT กลุ่ม PN และกลุ่ม PNT กลุ่มละ 40 คน โดยแต่ละกลุ่มประกอบด้วยผู้เรียนชาวไทยผู้มีความสามารถทางภาษาญี่ปุ่นในระดับ N2 และ N3 ตามผลการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุ่น (JLPT) อย่างละ 20 คน กลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มจะได้รับชมสื่อมัลติมีเดียภาษาญี่ปุ่นที่มีเนื้อหาเหมือนกัน แต่มีองค์ประกอบต่างกันตามกลุ่มของตน คือ กลุ่ม PT จะได้ดูสื่อที่มีองค์ประกอบของภาพและข้อความบรรยาย กลุ่ม PN จะได้ดูสื่อที่มีองค์ประกอบของภาพและเสียงบรรยาย และกลุ่ม PNT จะได้ดูสื่อที่มีองค์ประกอบของภาพ เสียงบรรยายและข้อความบรรยาย หลังการรับชมสื่อ กลุ่มตัวอย่างแต่ละคนจะได้รับแบบสอบปรนัยสี่ตัวเลือกจำนวน 5 ข้อ เพื่อวัดระดับความเข้าใจในเนื้อหาที่สื่อนำเสนอ จากการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมประมวลผลทางสถิติ Two-way ANOVA (SPSS version 18) พบว่ากลุ่ม PT กลุ่ม PN และกลุ่ม PNT มีระดับความเข้าใจในเนื้อหาไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยกลุ่ม PT ใช้เวลาในการเรียนจากสื่อมัลติมีเดียมากกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และกลุ่มผู้เรียนระดับ N2 มีความเข้าใจในเนื้อหามากกว่าผู้เรียนระดับ N3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยเฉพาะในกลุ่ม PN ซึ่งเป็นกลุ่มสื่อที่กลุ่มตัวอย่างต้องทำความเข้าใจเนื้อหาในสื่อโดยอาศัยทักษะทางด้านการฟังภาษาญี่ปุ่นเป็นหลัก
This study aims to assess Richard E. Mayer's Redundancy Principle and Modality Principle in the multimedia program which provides information in Japanese. Participants consist of 120 Thais who learned Japanese as a second language. They were divided into three main groups : PT Group, PN Group and PNT Group. Each group consisting of 20 JLPT-N2 and 20 JLPT-N3 participants was instructed to view a multimedia program which contains identical contents but different components. The PT-Group viewed Picture-Text multimedia; the PN-Group viewed Picture-Narration multimedia; and the PNT-Group viewed Picture-Narration-Text multimedia. After the watching, the participants were asked to answer 5 multiple-choice questions. The test scores were then analysed by Two-way ANOVA (SPSS version 18). The results show no statistically significant difference among the three groups in the comprehension test scores. However the PT-Group spent significantly more time for viewing the multimedia program than the other two groups. The results also reveal that JLPT-N2 participants gained significantly more comprehension test scores than JLPT-N3 participants, especially the PN-Group which mainly relied on their Japanese listening skill.
This study aims to assess Richard E. Mayer's Redundancy Principle and Modality Principle in the multimedia program which provides information in Japanese. Participants consist of 120 Thais who learned Japanese as a second language. They were divided into three main groups : PT Group, PN Group and PNT Group. Each group consisting of 20 JLPT-N2 and 20 JLPT-N3 participants was instructed to view a multimedia program which contains identical contents but different components. The PT-Group viewed Picture-Text multimedia; the PN-Group viewed Picture-Narration multimedia; and the PNT-Group viewed Picture-Narration-Text multimedia. After the watching, the participants were asked to answer 5 multiple-choice questions. The test scores were then analysed by Two-way ANOVA (SPSS version 18). The results show no statistically significant difference among the three groups in the comprehension test scores. However the PT-Group spent significantly more time for viewing the multimedia program than the other two groups. The results also reveal that JLPT-N2 participants gained significantly more comprehension test scores than JLPT-N3 participants, especially the PN-Group which mainly relied on their Japanese listening skill.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การสื่อสารและวัฒนธรรมญี่ปุ่น))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561