การศึกษาและเปรียบเทียบรูปแบบการสื่อสารการละครเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านความฉลาดทางอารมณ์
Publisher
Issued Date
2015
Issued Date (B.E.)
2558
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
134 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b190099
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วรภพ เจริญมโนพร (2015). การศึกษาและเปรียบเทียบรูปแบบการสื่อสารการละครเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านความฉลาดทางอารมณ์. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4895.
Title
การศึกษาและเปรียบเทียบรูปแบบการสื่อสารการละครเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านความฉลาดทางอารมณ์
Alternative Title(s)
A comparative study of performance communication styles for the development of emotional intelligence for children and youths
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบการสื่อสารการละครเพื่อการพัฒนา เด็กและเยาวชนด้านความฉลาดทางอารมณ์ และเพื่อเปรียบเทียบรูปแบบการสื่อสารการละครเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนด้านความฉลาดทางอารมณ์ก่อนและหลังกระบวนการ โดยกลุ่มที่ใช้ในการศึกษา เป็นเด็กและเยาวชนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จํานวน 30 คน ซึ่งแบ่งเป็น 10 คน ต่อ 1 โรงเรียน โรงเรียน ในเขตพื้นที่การศึกษาเขตกรุงเทพมหานครฯ 3 โรงเรียน โดยเสนอผ่านรูปแบบการสื่อสารการละครเพื่อ การพัฒนา 3 รูปแบบ 1) Top-Down 2) Participatory และ 3) Empowering แบบวัดค่าความฉลาดทาง อารมณ์ ประกอบไปด้วยด้านดี เก่ง สุข และแยกยอยออกมาเป็น 5 ด้าน คือ 1) ความตระหนักในตนเอง 2) การควบคุมอารมณ์ 3)การจูงใจในตนเอง 4)การเห็นอกเห็นใจ และ 5) ทักษะทางสังคม ข้อมูลที่ได้นํามาหาค่าเฉลี่ยและคะแนนรวมในแต่ละรูปแบบการสื่อสารเพื่อนํามาเปรียบเทียบ รวมไปถึงแบบ สังเกตความฉลาดทางอารมณ์ในเด็กและเยาวชนที่นํามาสรุปและอภิปรายผล ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบที่ 2 Participatory มีคะแนนหลังทํากระบวนการสูงที่สุด คือ 55.50 จาก 47.50 ของคะแนนรวมทั้งหมด ถัดมาตามลําดับคือ รูปแบบที่ 3 Empoweringผลวิจัยพบว่ามีค่า คะแนนรวมหลังกระบวนการเพิ่มขึ้นจาก36.10 เป็น 37.40 จากผลคะแนนรวมทั้งหมด และรูปแบบที่ 1 Top-Down จากกระบวนการพบว่า มีคะแนนลดลงจาก 34.80ลดลงมาเหลือ 33.20จากผลคะแนนรวม ทั้งหมด
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558