การวิเคราะห์การจัดกลุ่มโรงเรียนตามผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง : ระดับปฐมวัยและประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Publisher
Issued Date
2011
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
108 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ขนิษฐา ไซที (2011). การวิเคราะห์การจัดกลุ่มโรงเรียนตามผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง : ระดับปฐมวัยและประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/539.
Title
การวิเคราะห์การจัดกลุ่มโรงเรียนตามผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง : ระดับปฐมวัยและประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Alternative Title(s)
Cluster analysis of schools based on educational standards of the second external quality assessment, second round : Kindergarten and Primary Education Level of Schools
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดกลุ่มและค้นหาคุณลักษณะของกลุ่มโรงเรียนระดับ ประถมศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับการ ประเมินภายนอกรอบสองจากสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินผลการศึกษาแล้ว จํานวน 23,377 โรงเรียน โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิซึ่งเป็นข้อมูลผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสองจาก สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินผลการศึกษาระหว่างปีพ.ศ.2549 – 2552 ประกอบด้วย 3 ด้าน 14 มาตรฐาน การวิเคราะห์จัดกลุ่มใช้เทคนิคสถิติการวิเคราะห์จัดกลุ่ม (Cluster Analysis) ผล การศึกษาสรุปได้ดังนี้จากการวิเคราะห์ผู้วิจัยสามารถแบ่งโรงเรียนออกมาได้เป็น 4 กลุ่ม มีลักษณะดังนี้กลุ่มที่ 1 เป็นโรงเรียนที่มีคุณภาพดีเยี่ยม มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาในทุกมาตรฐานสูงกว่ากลุ่มอื่น ๆ โดยมีสมาชิก 6,819 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 29.17 ดังนั้นจึงตั้งชื่อกลุ่มที่ 1 ว่า “กลุ่มโรงเรียนที่มี คุณภาพดีเยี่ยม” กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนประเมินในทุกมาตรฐานสูงรองมาจากกลุ่ม แรก มีสมาชิก 9,655 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 41.30 ดังนั้นจึงตั้งชื่กลุ่มที่ 2 ว่า “กลุ่มโรงเรียนที่มี คุณภาพดีมาก” กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่มีคะแนนประเมินในทุกมาตรฐานรองลงมาจากกลุ่มที่ 2 มี สมาชิก 5,541 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 23.70 ดังนั้นจึงตั้งชื่อกลุ่มที่ 3 ว่า “กลุ่มโรงเรียนที่มีคุณภาพ ดี” และกลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มโรงเรียนที่มีคะแนนประเมินในทุกมาตรฐานต้ำที่สุด มีสมาชิก 1,362 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 5.83 ดังนั้นจึงตั้งชื่อกลุ่มที่ 4 ว่า “กลุ่มโรงเรียนที่มีคุณภาพพอใช้”
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011