dc.contributor.advisor | พัชนี เชยจรรยา | th |
dc.contributor.author | สุจรรยา น้ำทองคำ | th |
dc.date.accessioned | 2022-01-24T07:07:18Z | |
dc.date.available | 2022-01-24T07:07:18Z | |
dc.date.issued | 2015 | th |
dc.identifier.other | b193274 | th |
dc.identifier.uri | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5421 | th |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558 | th |
dc.description.abstract | การวิจัชครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อศึกษาการรับรู้ข่วสารของผู้บรโภคเกี่ยวกับสินค้า
ทางสื่อออนไลน์ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้บริ โภคในการเลือกซื้อสินค้ทางสื่อออนไลน์
3)เพื่อศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคทงสื่อออนไลน์ 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างการรับรู้และความพึงพอใจของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อสินค้าทางสื่อออนไลน์ 5) เพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อสินค้าทาง
สื่อออนไลน์ 6) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจและพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของ
ผู้บริโภคที่มีต่อการซื้อสินค้าทางสื่อออนไลน์ กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยนี้ คือ ผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ใน
กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ที่เคยซื้อสินค้หรือบริการทางสื่อออนไลน์ มีอายุตั้งแต่ 15 ปี
ขึ้นไป จำนวน 567 คน โดยใช้แบบสอบถามในการเกี่บรวบรามข้อมูล ใช้การวิเคราะห์ประมวลผล
ทางสถิติโดยใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Staistics) ค่าสถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่ความถี่
(Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Slandard Deviation)
และการวิเคราะห์ประมวลผลทางสถิติโดยใช้ค่าสถิติเชิงอนุมาน (Infcrential Slatistics) ค่าสถิติที่ใช้
ได้แก่ ค่า t-test ค่า F-lest (One-Way Analysis of Variance หรือ Onc-Way ANOVA) และสถิติค่า
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearso on's Product Moment Correlation Cocficient ผลการ วิ จั ยพ บ ว่ า
1) ผู้บริโภคมีการรับรู้ข่าวสารทาง Facebook มากที่สุต รองลงมา คือ การรับรู้ข่าวสารทาง Linc
Instagram Shopce TH และ Kaidec.com 2)ผู้บริโภคมีความพึงพอใจในค้ำนช่องทางการจัด
จำหน่ายมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา และค้านการส่งเสริมการตลาด
3) ผู้บริไภคมีพฤติกรรมการซื้อซ้ำมากที่สุด รองลงมา คือ มีการซื้อสินค้แต่ละครั้งเป็นจำนวนมาก
และมีการซื้อสินค้ทุกอาทิตย์ 4) การรับรู้ข่าวสารทาง Line มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพึง6) พอใจของผู้บริ โภคค้านผลิตภัณฑ์ ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด อย่าง
มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 0.05 และ 0.05 ตามลำดับ 5) การรับรู้ข่าวสารทาง Instagram
Line Shopee TH และ Kaidee.com มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซื้อสินค้ทางสื่อออนไลน์ แต่
การรับรู้ข่าวสารทาง Facebook ไม่มีความสัมพันธ์กับการดัดสินใจซื้อสินค้าทางสื่อออนไลน์
ความพึงพอใจของผู้บริ โภค มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริ โภคทางสื่อ
ออนไลน์ทั้งด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราค ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด | th |
dc.description.provenance | Made available in DSpace on 2022-01-24T07:07:18Z (GMT). No. of bitstreams: 0
Previous issue date: 2015 | th |
dc.format.extent | 119 แผ่น | th |
dc.format.mimetype | application/pdf | th |
dc.language.iso | tha | th |
dc.publisher | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
dc.rights | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) | th |
dc.subject.other | ผู้บริโภค – การตัดสินใจ | th |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคทางสื่อออนไลน์ | th |
dc.title.alternative | Factors that affect consumers' decision-making behavior in purchasing products through online media | th |
dc.type | Text | th |
mods.genre | วิทยานิพนธ์ | th |
mods.physicalLocation | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา | th |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |
thesis.degree.level | Master's | th |
thesis.degree.discipline | นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม | th |
thesis.degree.grantor | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
thesis.degree.department | คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ | th |
dc.identifier.doi | 10.14457/NIDA.the.2015.22 | |