ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมแบบหลายวัตถุประสงค์ที่มีวิวัฒนาการทำงานร่วมกันสำหรับแก้ปัญหาการจัดตารางสอน
Publisher
Issued Date
2012
Issued Date (B.E.)
2555
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
106 แผ่น ; 30 ซม.
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ผกาวดี แสงสุวรรณ (2012). ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมแบบหลายวัตถุประสงค์ที่มีวิวัฒนาการทำงานร่วมกันสำหรับแก้ปัญหาการจัดตารางสอน. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/544.
Title
ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมแบบหลายวัตถุประสงค์ที่มีวิวัฒนาการทำงานร่วมกันสำหรับแก้ปัญหาการจัดตารางสอน
Alternative Title(s)
Co-Operative co-evolution multi-objective genetic algorithm approach to a university timetable
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การแก้ปัญหาการจัดตารางสอนมความสำคัญเป็นอย่างมากในการจัดสรรทรัพยากรต่างๆของ สถาบันการศึกษาเพื่อให้ตารางสอนตรงกับความต้องการให้มากที่สุดตารางสอนของมหาวิทยาลัย จะถูกจัดขึ้นโดยพิจารณาตารางสอนแบบรายสัปดาห์ซึ่งต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขและข้อจำกัดต่างๆได้มี การนำเอาวิธีการโปรแกรมประยกต์ต่างๆมาแก้ปัญหาการจัดตารางสอนซึ่งมักจะใช้ได้เฉพาะแต่ละสถานศึกษาเท่านั้นวัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้คือนําเสนอขนตอนวิธีเชิงพันธกรรมแบบหลาย จุดประสงค์ที่มีวิวัฒนาการทำงานร่วมกันเพอใช้ในการแก้ปัญหาการจัดตารางสอนโดยทดลองแบ่งกลุ่ม ประชากรออกเป็น 2 แบบคือแบ่งกลุ่มประชากรตามผู้สอน 27 กลมและแบ่งกลุ่มประชากรตามกลุ่ม ผู้เรียน 13 กลุ่มการทดลองจะกำหนดจำนวนรายวิชา 56 รายวิชาจํานวนห้อง 23 ห้องคาบเวลา 20 คาบ จํานวนรุ่นในการทดลอง 200 500 และ 1,000 และกำหนดขนาดของประชากรเป็น 200 และ 500 จากการทดลองพบว่าค่าจุดประสงค์ของแต่ละจำนวนรุ่นในแต่ละกลุ่มมีค่าที่ดีขึ้นเป็นที่น่าพอใจ การแบ่งกลุ่มประชากรตามกลุ่มผู้เรียนจะมีค่าจุดประสงค์ที่ดีขึ้นตามลำดบและจะมีการลู่เข้าหาคำตอบ ที่ดีที่สุดดีกว่าการแบ่งกลุ่มประชากรตามกลุ่มผู้สอน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2012