• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะสถิติประยุกต์
  • GSAS: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจการจัดการอะไหล่คงคลัง กรณีศึกษา : โรงงานผลิตขนมเบเกอรี่

by สุพรรณ์ ทองเพชร

Title:

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจการจัดการอะไหล่คงคลัง กรณีศึกษา : โรงงานผลิตขนมเบเกอรี่

Other title(s):

Decision support system for spare part inventory management : a case study of a bakery factory

Author(s):

สุพรรณ์ ทองเพชร

Advisor:

พัชราภรณ์ เนียมมณี, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ)

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

สถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Degree department:

คณะสถิติประยุกต์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2011

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2011.19

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

โรงงานกรณีศึกษาเป็นโรงงานผลิตขนมเบเกอรี่ที่ใช้เครื่องจักรเป็นฐานหลักในการผลิตทํา ให้โรงงานมีการจัดเก็บอะไหล่ไว้สําหรับซ้อมบำรุงเป็นจำนวนมากจากการศึกษาพบว่าในด้านการ จัดเก็บข้อมูลจะถูกจัดเก็บด้วยโปรแกรมประเภทสเปรดชีตซึ่งค่อนข้างยุ่งยากและเกิดความผิดพลาด ได้ง่ายในการบั่นทุกหรือปรับปรุงข้อมูลรายการอะไหล่ที่มีเป็นจำนวนมากสําหรับการควบคุมและไหล่คงคลังเจ้าหน้าที่คลังให้ความสำคัญกับอะไหล่ทุกรายการและอาศัยประสบการณ์ที่ผ่านมา เป็นตัวกำหนดจัดส่งซื้อและปริมาณการสั่งจึงทำให้มีอะไหล่บางรายการถูกจัดเก็บไว้เป็นเวลานานโดยไม่ได้นําไปใช้จึงผลให้ต้นทุนในการเก็บรักษาสูงขึ้ง งานวิจัยนจึงพัฒนาระบบ สนับสนุนการตัดสินใจการจัดการอะไหล่คงคลังโดยเริ่มจากการแบ่งกลุ่มอะไหล่ด้วยระบบแบบ ABC (Classification) โดยอาศัยหลักการของพาราโต (Pareto) พบว่าเปนรายการที่จัดอยู่ในอะไหล่ A เท่ากับ 27 รายการอะไหล่กลุ่ม B เท่ากับ 58 รายการที่เหลือ 168 รายการเป็นอะไหล่กลุ่ม C จากนั้นวิเคราะห์ถึงนโยบายการควบคุมอะไหล่คงคลังสำหรับอะไหล่กลุ่ม A มีนโยบายการควบคุม จุดสั่งซื้อและระดับการสั่งซื้อ (s,S) อะไหลกลุ่ม B และอะไหล่กลุ่ม C มีนโยบายควบคุมจุดสั่งซื้อ และปริมาณการสั่งซื้อ (s,Q) พร้อมทั้งศึกษาดัชนีชี้วัดการดำเนินงานการจัดการอะไหล่คงคลังคือ อัตราหมุนเวียนอะไหล่สํารองอัตราส่วนระดับอะไหล่พร้อมใช้และอัตราการขาดอะไหล่เมื่อต้องการใช้

Description:

วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2011

Subject(s):

การควบคุมสินค้าคงคลัง
เครื่องจักรกล -- การจัดการ
อะไหล่

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

12, 188 แผ่น ; 30 ซม.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/558
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b174607.pdf ( 2.36 MB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSAS: Theses [224]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×