การประเมินความยืดหยุ่นด้านความจุของโครงข่ายการคมนาคมเพื่อรองร้บการขนส่งสินค้าในพื้นที่ภาคตะวันออก
Publisher
Issued Date
2016
Issued Date (B.E.)
2559
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
104 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b192969
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
รพีพัฒน์ ชัยประสิทธิ์ (2016). การประเมินความยืดหยุ่นด้านความจุของโครงข่ายการคมนาคมเพื่อรองร้บการขนส่งสินค้าในพื้นที่ภาคตะวันออก. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5673.
Title
การประเมินความยืดหยุ่นด้านความจุของโครงข่ายการคมนาคมเพื่อรองร้บการขนส่งสินค้าในพื้นที่ภาคตะวันออก
Alternative Title(s)
Assessing freight transportation networks capacity flexibility case of Eastern Region of Thailand
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตัวแบบทางคณิตศาสตร์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาแผนเพิ่ม ประสิทธิภาพโครงข่ายการขนส่งสินค้าต่อเนื่องหลายรูปแบบพื้นที่ภาคตะวันออกโดยในการศึกษานี้ จะพิจารณาการขนส่งสินค้า 2รูปแบบคือการขนส่งสินค้าด้วยโครงข่ายทางหลวงและรถไฟ โดยการประเมินประสิทธิ ภาพแผนพัฒนาได้ใช้ตัวแบบ Network Reserved Capacity ซึ่ งเป็นตัวแบบทางคณิตศาสตร์ที่ประกอบด้วยปัญหา 2 ระดับ คือ ปัญหาระดับบน ซึ่งเป็นการคำนวณหาค่าที่มากที่สุดของ สัดส่วนปริมาณความต้องการเดินทางที่เพิ่มขึ้นในโครงข่ายการขนส่งสินค้า หรือ μ และปัญหาระดับล่าง ซึ่งจะแสดงพฤติกรรมการเลือกเส้นทางสำหรับการขนส่งสินค้าโดยพิจารณาจากปัญหาการเลือก เส้นทางที่จุดสมดุลของผู้เดินทาง (User Equilibrium) ซึ่งเป็นสถานะที่ไม่มีผู้เดินทางคนใดสามารถ ปรับเปลี่ยนเส้นทางเพื่อลดระยะเวลาการเดินทางลงได้อีกแล้ว โดยผลของการประมวลผลพบว่า ณ สถานการณ์ปัจจุบันโครงข่ายการขนส่งในพื้นที่ศึกษายังมีความจุสำรองเหลือเพื่อรองรับปริมาณจราจร ในอนาคตประมาณ1.16 เท่าของปริมาณความต้องการเดินทางในปัจจุบนั (μ =1.16) นอกจากนี้งานวิจัยยังได้พิจารณาโครงการปรับปรุงขยายช่องจราจรสำหรับเส้นทางที่มีลักษณะเป็นคอขวด และใช้ตัวแบบ Network Reserved Capacity โดยมีข้อจำกัดด้านงบประมาณในการดำเนินงานช่วยในการประเมิน ประสิทธิภาพกลุ่มโครงการ ซึ่งผลการศึกษา พบว่าการดำเนินการปรับปรุงเส้นทางร่วมกันระหว่าง โครงการเพิ่มช่องจราจรบนทางหลวงหมายเลข 314 ช่วงบางปะกง-แสนภูดาษ จาก 2เป็น 4 ช่องทาง ร่วมกับการเพิ่มช่องจราจรจาก 2 เป็ น 3 ช่องบนทางหลวงหมายเลข 3 ช่วงศรีราชา- พัทยา จะช่วยพัฒนา และปรับปรุงประสิทธิภาพโครงข่ายทางหลวงให้เกิดประโยชน์คุ้มค่ามากที่สุด
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การจัดการโลจิสติกส์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559