• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว
  • GSTM: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะการจัดการการท่องเที่ยว
  • GSTM: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

แนวทางการสนับสนุนการกลับมาเที่ยวซ้ำในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่

by สุรเชษฏ์ อ่ำสั้น

Title:

แนวทางการสนับสนุนการกลับมาเที่ยวซ้ำในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน จังหวัดเชียงใหม่

Other title(s):

Guidelines forSupport Revisiting in Community-Based Tourism in Chiang Mai, Thailand

Author(s):

สุรเชษฏ์ อ่ำสั้น

Advisor:

สุดสันต์ สุทธิพิศาล

Degree name:

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

Master's

Degree discipline:

การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ

Degree department:

คณะการจัดการการท่องเที่ยว

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2017

Publisher:

สถาบันบัณพิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้1) เพื่อสำรวจสภาพปัจจุบัน ของแหล่งท่องเที่ยวโดย ชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยสนับสนุนการกลับมาเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการสนับสนุนให้นักท่องเที่ยว กลับมาเที่ยวซ้ำ ในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่โดยศึกษาระดับความพึงพอใจของ นักท่องเที่ยวต่อแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยครอบคลุมความพึงพอใจ 5 ด้าน ไดแ้ก่1) ความพึง พอใจด้านสิ่งดึงดูดใจเพื่อการท่องเที่ยว 2)ความพึงพอใจด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว 3)ความพึง พอใจด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว 4) ความพึงพอใจด้านที่พักแรม และ 5) ความพึงพอใจด้านสิ่ง อำนวยความสะดวก
วิธีการศึกษาแบ่งตามวัตถุประสงค์ คือ วัตถุประสงค์ข้อที่ 1) เพื่อสำรวจสภาพปัจจุบันของ แหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยศึกษาด้วยวิธีการสำรวจ วัตถุประสงค์ข้อที่ 2) เพื่อศึกษาปัจจยัสนับสนุนการกลับมาเที่ยวซ้ำของนักท่องเที่ยวในแหล่ง ท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจาก นักท่องเที่ยวที่มีความตั้งใจกลับมาเที่ยวซ้ำในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 400คน สถิติที่ใช้ในการศึกษาคือร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบทีและ นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทั้ง 2 ด้านมาสรุปเพื่อเป็นแนวทางการสนับสนุนการกลับ มาเที่ยวซ้ำ ใน แหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงใหม่
ชมุชน ควรรักษาทรัพยากรทางธรรมชาติและอนุรักษ์วัฒนธรรมของชุมชนไว้ เพราะเป็น ปัจจัยหลักทำให้นักท่องเที่ยวกลับ มาเที่ยวซ้ำ ในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน

Description:

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560

Subject(s):

แหล่งท่องเที่ยว -- การจัดการ
การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ไทย -- เชียงใหม่
การท่องเที่ยว -- ไทย -- เชียงใหม่

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

188 แผ่น

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5868
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • b201169.pdf ( 4,074.34 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSTM: Theses [119]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×