ผลกระทบจากการบริการของเท็กซี่มิเตอร์ต่ออารมณ์รูปแบบการเผชิญ และความตั้งใจกลับใช้บริการ โดยมีบุคลิกภาพเป็นตัวแปรกำกับ
Publisher
Issued Date
2015
Issued Date (B.E.)
2558
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
172 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191160
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
วศิน แก้วชาญค้า (2015). ผลกระทบจากการบริการของเท็กซี่มิเตอร์ต่ออารมณ์รูปแบบการเผชิญ และความตั้งใจกลับใช้บริการ โดยมีบุคลิกภาพเป็นตัวแปรกำกับ. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6121.
Title
ผลกระทบจากการบริการของเท็กซี่มิเตอร์ต่ออารมณ์รูปแบบการเผชิญ และความตั้งใจกลับใช้บริการ โดยมีบุคลิกภาพเป็นตัวแปรกำกับ
Alternative Title(s)
The effect of taxi service on emotions, coping style, and intentions to use : the moderation role of personality
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
วิทยานิพนธ์เรื่อง ผลกระทบจากการบริการของแท็กซี่มิเตอร์ต่ออารมณ์ รูปแบบการเผชิญ
และความตั้งใจกลับไปใช้บริการ โดยมีบุคลิกภาพเป็นตัวแปรกำกับ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษา
ผลกระทบจากการบริการแท็กซี่มิเตอร์ต่ออารมณ์ รูปแบบการเผชิญ การรับรู้การควบคุมพฤติกรรม
ทางเลือกการใช้บริการ ต่อความตั้งใจกลับไปใช้บริการ และสร้างตัวแบบเส้นทางความสัมพันธ์
จำแนกตามเพศ และ (2) ทดสอบว่าบุคลิกภาพเป็นตัวแปรกำกับความสัมพันธ์ระหว่างอารมณ์และ
รูปแบบการเผชิญ ต่อความตั้งใจกลับไปใช้บริการของผู้ใช้บริการ งานวิจัยนี้เก็บรวบรวมข้อมูลด้วย
แบบสอบถามทางออนไลน์และการสำรวจภาคสนาม จากประชาชนทั่วไปที่เคยใช้บริการแท็กซี่
มิเตอร์ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 501 คน (เพศชาย 206 คน และเพศหญิง 295 คน)
ในเพศชายจะมีพฤติกรรมการเผชิญแบบจัดการโดยตรงแม้จะมีความกลัวอยู่ในใจ แต่ใน
เพสหญิงอารมณ์เชิงลบที่เกิดขึ้นจะเป็นอารมณ์ที่มีความซับช้อนในรูปแบบความกลัวผสมกับความ
โกรธ ซึ่งความโกรธเป็นตัวแปรกำกับความสัมพันธ์ระหว่างความกลัวกับรูปแบบการเผชิญ เมื่อ
ผู้โดยสารเพศหญิงโกรธและกลัวในเวลาเดียวกัน จะใช้มีการเผชิญแบบการจัดการโดยตรงและการ
เผชิญแบบแสวงหาการสนับสนุนมากขึ้น แต่จะมีการเผชิญแบบหลีกเลี่ยงน้อยลง
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558