ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเสี่ยง ความพึงพอใจในชีวิตและการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุของข้าราชการ
Files
Publisher
Issued Date
2017
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
117 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b199296
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ปณิตา อินทสุวรรณ (2017). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเสี่ยง ความพึงพอใจในชีวิตและการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุของข้าราชการ. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6309.
Title
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเสี่ยง ความพึงพอใจในชีวิตและการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุของข้าราชการ
Alternative Title(s)
The relationships among risk perception, life satisfaction and retirement preparation of government official
Author(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุราชการ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเสี่ยงและความพึงพอใจในชีวิต กับการเตรียมความ พร้อมก่อนเกษียณอายุและ 3) เพื่อเปรียบเทียบระดับการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุจําแนก ตามปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ เพศอายุรายได้อายุงาน และจํานวนบุตรที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ข้าราชการกรมการปกครองส่วนกลาง ที่มีอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป จํานวน 350 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 4 ฉบับ ได้แก่แบบสอบถาม ลักษณะทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู้ความเสี่ยงแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึง พอใจในชีวิต และแบบสอบถามเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุสถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ค่าความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (SD) การวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient: r) การทดสอบค่าที่แบบ Independent t-test และการวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการศึกษาพบว่า 1) ข้าราชการมีการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุโดยรวมอยู่ใน ระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านร่างกายและจิตใจ ด้านรายได้และรายจ่าย และด้านที่อยู่ อาศัยอยู่ในระดับมาก สําหรับการเตรียมความพร้อมด้านงานอดิเรกและการมีส่วนร่วมในสังคมอยู่ ในระดับปานกลาง 2) การรับรู้ความเสี่ยงและความพึงพอใจในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการ เตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่นะดับ 0.05 3) ข้าราชการที่มีเพศอายุ รายได้อายุงาน และจํานวนบุตรที่อยู่ในความดูแลรับผิดชอบ แตกต่างกัน มีการเตรียมความพร้อม ก่อนเกษียณอายุไม่แตกต่างกัน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560