ความสามารถทางการจัดการของทรัพยากรมนุษย์ในองค์การธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ของไทย
Publisher
Issued Date
2003
Issued Date (B.E.)
2546
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
140 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b122018
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
สวรรยา ธีราวิทยางกูร (2003). ความสามารถทางการจัดการของทรัพยากรมนุษย์ในองค์การธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ของไทย. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/707.
Title
ความสามารถทางการจัดการของทรัพยากรมนุษย์ในองค์การธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ของไทย
Alternative Title(s)
Management competency of human resources in Thai modern trade organization
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถการจัดการของผู้บริหารในองค์การธุรกิจค้าปลีก และเพื่อพัฒนาแบบจำลองความสามารถทางด้านการจัดการของผู้บริหารในองค์การธุรกิจค้าปลีก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น ผู้บริหารขององค์การธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในเขดกรุงเทพมหานครรวม 5 แห่ง แบ่งเป็น ผู้บริหารระดับกลางจำนวน 89 คน และผู้บริหารระดับต้นจำนวน 95 คน รวมทั้งสิ้น 184 คน มีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นในเรื่องความสามารถทางการจัดการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด และใช้เทคนิคการวิเคราะห์การผันแปรหลายตัวแปร เทคนิคการวิเคราะห์ลดถอยพหุแบบเชิงชั้น เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน และเทคนิคการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ระดับการศึกษาที่เเตกต่างกันของผู้บริหารส่งผลต่อความสามารถทางการจัดการด้านทักษะส่วนบุคคล และประสบการณ์ที่แตกต่างกันของผู้บริหารส่งผลต่อความสามารถทางการจัดการด้านคุณลักษณะพิเศษสำหรับความขั้นสูง สำหรับการศึกษาเรื่องปัจจัยด้านคุณลักษณะส่วนตัว ได้แก่ ทักษะในการทำงาน และแรงจูงใจในการทำงาน และปัจจัยทางด้านตัวกระตุ้นในการทำงาน ได้แก่ วัฒนธรรมองค์การ เทคโนโลยี การจัดโครงสร้างองค์การ ผลตอบแทน และการฝึกอบรมและพัฒนา พบว่ามีผลต่อความสามารถทางการจัดการของผู้บริหารในทุกด้าน และการศึกษาแบบจำลองความสามารถทางการจัดการ สามารถสรุปความคาดหวังของผู้บริหารได้ ดังนี้ ความคาดหวังสูงสุด ได้แก่ ความสามารถทางด้านคุณลักษะพิเศษสำหรับการจัดการขั้นสูง ความคาดหวังรอง ได้แก่ การเป็นผู้นำทักษะส่วนบุคคล และการทำงานเป็นทีม ความคาคหวังทั่วไป ได้แก่ พลังในการทำงาน การติดต่อสื่อสาร ความรู้ บุคลิกภาพ และการคิดวิเคราะห์
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (เทคโนโลยีการบริหาร))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2546