• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Dissertations
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Dissertations
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การกำกับดูแลกิจการกับความสามารถในการแข่งขันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

by สุภานี นวกุล

Title:

การกำกับดูแลกิจการกับความสามารถในการแข่งขันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Other title(s):

Corporate governance and competitiveness of Thai listed companies in the Stock Exchange of Thailand

Author(s):

สุภานี นวกุล

Advisor:

พัลลภา เรืองรอง, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาเอก

Degree discipline:

รัฐประศาสนศาสตร์

Degree department:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

2010

Digital Object Identifier (DOI):

10.14457/NIDA.the.2010.73

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

การศึกษาความสามารถในการแข่งขันของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยมุ่งเน้นการศึกษาระดับจุลภาคหรือองค์การในฐานะที่เป็นหน่วยธุรกิจสำคัญที่จะ ผลักดันและส่งเสิรมให้เกิดความสามารถในการแข่งขันระดับอุตสาหกรรมและประเทศโดยศึกษา กลุ่มตัวอย่างระดับบริษัทที่ทําการจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแห่งประเทศไทยตั้งแต่ปี 2535 ถึง 2552 จำแนกเป็น 7 หมวดธรกิจประกอบด้วยอุตสาหกรรมเกษตรและอุตสาหกรรมอาหาร สินค้าอุปโภคและบริโภคสินค้าอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้างทรัพยากรบริการและ เทคโนโลยี ความสามารถในการแข่งขันของบริษัทตามแนวคิดอุปสงค์ของผู้บริโภคและกลยุทธบริษัทงตัวแปรหรือตวชี้วัดอุปสงค์ของผู้บริโภคประกอบดวยการเติบโตของยอดขายส่วน แบ่งตลาดเฉพาะและส่วนแบ่งตลาดรวมส่วนกลยุทธบริษัทประกอบด้วยอัตราผลตอบแทนต่อ สินทรัพย์รวมอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นและกำไรต่อหุ้น การกำกับดูแลกิจการประกอบด้วย 5 แนวคิดได้แก่คุณภาพการปฏิบัติการกำกับดูแล ความสามารถทางการบริหารต้นทุนการถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารค่าตอบแทน คณะกรรมการและผู้บริหารและความสัมพนธ์กับผู้มีส่วนได้เสียงประกอบด้วยตัวแปรหรือ ตัวชี้วัด 14 ตัว สถิติที่ใช้เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการและความสามารถใน การแข่งขันคือ ANOVA และใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบปกติ (Multiple Regression nalysis, MRA) เพื่อระบุปัจจัยการกํากับดูแลกจการที่มีอิทธพลต่อความสามารถในการแข่งขัน ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยการกำกับดูแลกิจการทั้ง 5 ปัจจัยมผลทางบวกต่อ ความสามารถในการแข่งขันกล่าวคือบริษัทที่ได้รับการประเมินคุณภาพการปฏิบัติการกำกับดูแล ด้วยคะแนนที่สูงกว่ามีส่วนแบ่งตลาดเฉพาะและส่วนแบ่งตลาดรวมที่สูงกว่าบริษัทอื่นนอกจากนี้ (4)บริษัทที่ปฏิบัติามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีมีอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมที่สูงกว่า บริษัทที่ไม่ได้ปฏิบัติามหลักการและบริษัทที่มีอันดับการกำกับดแลกิจการที่สูงกว่ามีส่วนแบ่ง ตลาดเฉพาะส่วนแบ่งตลาดรวมอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมและตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหนที่สูงกว่าบริษัทที่มีอันดับการกำกับดูแลกิจการที่ต่ำ บริษัทที่มีประสิทธภาพในการบริหารต้นทนขายที่ต่ำกว่าความสามารถในการแข่งขันใน ภาพรวมหรือรวมที่สูงกวาบริษัทอื่น การถ่วงดุลของกรรมการที่ไม่ได้เป็นผู้บริหารพบว่าบริษัทที่มีหัวหน้าคณะผู้บริหารคนละคนประธานคณะกรรมการ และบริษัทที่มีกรรมการอิสระจำนวนมากกว่ามีส่วนแบ่งตลาด เฉพาะและส่วนแบ่งตลาดรวมที่สูงกว่านอกจากนบริษัทที่มีจํานวนกรรมการตรวจสอบมากกว่า มีอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวมสูงกว่าบริษัทที่มีจํานวนกรรมการตรวจสอบน้อย ในส่วนของค่าตอบแทนคณะกรรมการและผู้บริหารพบว่าบริษัทที่ให้ค่าตอบแทนที่สูงกว่า มีส่วนแบ่งตลาดเฉพาะและส่วนแบ่งตลาดรวมสูงกว่าบริษัทให้ค่าตอบแทนน้อย สุดท้ายความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียพบว่าบริษัทได้รับรางวัลบริษัทจดทะเบียน ดีเด่นด้านสัมพนธ์มีส่วนแบ่งตลาดเฉพาะที่สูงกว่าบริษัทไม่ได้รับรางวัลนอกจากนี้ บริษัทได้รับรางวัลบริษัทจดทะเบียนที่มีผลการดำเนินงานยอดเยี่ยมจากตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทยมีส่วนแบ่งตลาดเฉพาะและส่วนแบ่งตลาดรวมสูงกว่าบริษัทที่ไม่ได้รับรางวัล ส่วนปัญหาอุปสรรคที่พบคือการขาดการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวข้องการกำกับดูแล กิจการและความสามารถในการแข่งขันที่ชัดเจนทําใหประเด็นดังกล่าวได้รับการแลกเปลี่ยนและ พัฒนาเฉพาะกลุ่มผู้สนใจเท่านั้นอีกทั้งความสามารถในการแข่งขันโดยเฉพาะระดับองค์การอาจ ได้รับผลกระทบจากตัวแปรภายนอกอื่นอาทิการเมืองเศรษฐกิจการเงินเป็นต้น อย่างไรตามในการศึกษาความสามารถในการแข่งขันระดับองค์การในแง่มุอื่น นอกเหนอจากการวิจัยฉบับนี้อาจเลือกวิธีการวิจัยแบบตัดขวางในระยะเวลาไม่เกิน 5 เนื่องจาก เป็นระยะเวลาทบริษัทส่วนใหญ่ยังคงเก็บรักษาข้อมูลไว้ครบถ้วนอีกทั้งยังสามารถเข้าถึงข้อมูล ผ่านตลาดหลักทรพย์แห่งประเทศไทยซึ่งเป็นศูนย์กลางข้อมูลของบริษัทจดทะเบียน

Description:

วิทยานิพนธ์ (รป.ด.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2010

Subject(s):

การกำกับดูแลกิจการ
การแข่งขันทางการค้า

Resource type:

ดุษฎีนิพนธ์

Extent:

178 แผ่น ; 30 ซม.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/936
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-diss-b168727.pdf ( 2.15 MB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSPA: Dissertations [410]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×