ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมของชุมชนบ้านหมากขาม* และบ้านหมากม่วง* ในเขตเทศบาลตำบลไตรรัฐ* ยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Files
Publisher
Issued Date
2017
Issued Date (B.E.)
2560
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
153 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
Identifier(s)
b203186
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
คทาเทพ พงศ์ทอง (2017). ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมของชุมชนบ้านหมากขาม* และบ้านหมากม่วง* ในเขตเทศบาลตำบลไตรรัฐ* ยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6109.
Title
ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมของชุมชนบ้านหมากขาม* และบ้านหมากม่วง* ในเขตเทศบาลตำบลไตรรัฐ* ยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Alternative Title(s)
Cultural management model of Ban Mark Kham and Ban Mark Muang in Triath Municipality in AEC Era
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อนำเสนอตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมชุมชนบ้านหมาก
ขาม* และบ้านหมากม่วง* ในเขตต าบลไตรรัฐ* อ าเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี2) เพื่อศึกษาการจัดการ
วัฒนธรรมของชุมชน 3) เพื่อศึกษาทัศนะของประชาชนในชุมชนต่อกิจกรรมทางวัฒนธรรม การวิจัยนี้
ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเน้นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก จากผู้ให้ข้อมูลที่ส าคัญ 30 คน และใช้การ
วิเคราะห์ตีความ ควบคู่บริบทและใช้สถิติเชิงพรรณนาประกอบเพื่อให้เกิดความชัดเจนเป็นรูปธรรม
ผลการศึกษาพบว่า 1) ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมของชุมชนบ้านหมากขาม* และบ้านหมากม่วง* ในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้บูรณาการวงจร Deming (PDCA)และขับเคลื่อนผ่านกลไก “คชศร” (ครอบครัว ชุมชน ศาสนา รัฐ) ดังนี้1) การวางแผน (Plan) เช่น การประเมินความสำคัญของกิจกรรม ทางวัฒนธรรม การรวมกลุ่มผู้น ากิจกรรม การวางแผนการด าเนินการ การจัดสรรทรัพยากร การ พิจารณาอุปสรรคและการสนับสนุน การเสนอโครงการ และอื่น ๆ 2) การปฏิบัติตามแผน (Do) จำแนกแนวทางการจัดการวัฒนธรรม เป็น 3 แนวทาง ได้แก่ A) อนุรักษ์รื้อฟื้น ต่อยอด ในกิจกรรมที่ มีแนวโน้มจะสูญหายหรือสามารถพัฒนาได้B) เผยแพร่ ในกิจกรรมที่ยังด ารงอยู่แต่ขาดการ ประชาสัมพันธ์ภายในชุมชนที่มีประสิทธิภาพ C) สืบสาน ในกิจกรรมที่มีความเป็นไปได้ที่จะ ประชาสัมพันธ์ออกสู่สาธารณะ 3) การตรวจสอบ (Check) ประเมินจากสรุปผลการจัดกิจกรรม สามารถแยกประเมินตามแผนย่อยทีละขั้นตอนและแยกตามฝ่าย 4) การปรับปรุงการดำเนินการ (Act) มีการบันทึกและเก็บทะเบียนประวัติการจัดกิจกรรม จัดทำคู่มือและฐานข้อมูลที่จำเป็น เสนอแนะและวางแผนเพื่อการจัดในครั้งต่อไป 2) ชุมชนมีแนวทางการจัดการวัฒนธรรมชุมชนสอดคล้องกับวงจร Deming อัน สามารถปรับปรุงการดำเนินกิจกรรมและปรับเปลี่ยนได้ตามบริบทได้อย่างเหมาะสม 3) ทัศนะของประชาชนในชุมชน มีความชัดเจนในความต้องการรักษาอัตลักษณ์ วัฒนธรรมท้องถิ่นอันสะท้อนชาติพันธุ์ทั้งไทย มอญและจีนของตนเองเอาไว้และมีความเป็นไปได้สูง ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ ชุมชนควรสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง อาทิ การประสาน ภาครัฐและเอกชน การทำระบบการจัดการและการเสนอโครงการเพื่อจัดสรรงบประมาณ การ วางแผนการประชาสัมพันธ์ภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการศึกษา อนุรักษ์เผยแพร่และสืบสานอย่างยั่งยืน
ผลการศึกษาพบว่า 1) ตัวแบบการจัดการวัฒนธรรมของชุมชนบ้านหมากขาม* และบ้านหมากม่วง* ในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้บูรณาการวงจร Deming (PDCA)และขับเคลื่อนผ่านกลไก “คชศร” (ครอบครัว ชุมชน ศาสนา รัฐ) ดังนี้1) การวางแผน (Plan) เช่น การประเมินความสำคัญของกิจกรรม ทางวัฒนธรรม การรวมกลุ่มผู้น ากิจกรรม การวางแผนการด าเนินการ การจัดสรรทรัพยากร การ พิจารณาอุปสรรคและการสนับสนุน การเสนอโครงการ และอื่น ๆ 2) การปฏิบัติตามแผน (Do) จำแนกแนวทางการจัดการวัฒนธรรม เป็น 3 แนวทาง ได้แก่ A) อนุรักษ์รื้อฟื้น ต่อยอด ในกิจกรรมที่ มีแนวโน้มจะสูญหายหรือสามารถพัฒนาได้B) เผยแพร่ ในกิจกรรมที่ยังด ารงอยู่แต่ขาดการ ประชาสัมพันธ์ภายในชุมชนที่มีประสิทธิภาพ C) สืบสาน ในกิจกรรมที่มีความเป็นไปได้ที่จะ ประชาสัมพันธ์ออกสู่สาธารณะ 3) การตรวจสอบ (Check) ประเมินจากสรุปผลการจัดกิจกรรม สามารถแยกประเมินตามแผนย่อยทีละขั้นตอนและแยกตามฝ่าย 4) การปรับปรุงการดำเนินการ (Act) มีการบันทึกและเก็บทะเบียนประวัติการจัดกิจกรรม จัดทำคู่มือและฐานข้อมูลที่จำเป็น เสนอแนะและวางแผนเพื่อการจัดในครั้งต่อไป 2) ชุมชนมีแนวทางการจัดการวัฒนธรรมชุมชนสอดคล้องกับวงจร Deming อัน สามารถปรับปรุงการดำเนินกิจกรรมและปรับเปลี่ยนได้ตามบริบทได้อย่างเหมาะสม 3) ทัศนะของประชาชนในชุมชน มีความชัดเจนในความต้องการรักษาอัตลักษณ์ วัฒนธรรมท้องถิ่นอันสะท้อนชาติพันธุ์ทั้งไทย มอญและจีนของตนเองเอาไว้และมีความเป็นไปได้สูง ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะจากการศึกษาครั้งนี้ ชุมชนควรสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็ง อาทิ การประสาน ภาครัฐและเอกชน การทำระบบการจัดการและการเสนอโครงการเพื่อจัดสรรงบประมาณ การ วางแผนการประชาสัมพันธ์ภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบฐานข้อมูลเพื่อการศึกษา อนุรักษ์เผยแพร่และสืบสานอย่างยั่งยืน
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (ปร.ด. (พัฒนาสังคมและการจัดการสิ่งแวดล้อม)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560