คุณภาพชีวิตการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันของพนักงาน : กรณีศึกษาแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า โรงงานผลิตอาหาร อาหารกระป๋อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาคร
Publisher
Issued Date
2015
Issued Date (B.E.)
2558
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
146 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b191869
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
เสริมขวัญ วงศ์ตลาดขวัญ (2015). คุณภาพชีวิตการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันของพนักงาน : กรณีศึกษาแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า โรงงานผลิตอาหาร อาหารกระป๋อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาคร. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6376.
Title
คุณภาพชีวิตการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพันของพนักงาน : กรณีศึกษาแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า โรงงานผลิตอาหาร อาหารกระป๋อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาคร
Alternative Title(s)
Quality of working life that influence employee’s commitment : a case study of Myanmar migrant worker in canned food and frozen food industry of Samut Sakhon
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยระดับคุณภาพชีวิดการทำงาน และวิจัยความสัมพันธ์
ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ โดยทำการวิจัยแรงานต่างด้าวสัญชาติ
พม่าที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานจัดหางานอย่างถูกล้องดามกฎหมาย และทำงานอยู่ในโรงงานผลิต
อาหาร อาหารกระป้อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาครทั้งสิ้น 7 โรงงาน จำนวน 375 คน ใช้
การสัมภาษณ์และแบบสอบถามในการเก็บข้อมูล โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ด้านคุณลักษณะของ
ผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านคุณภาพชีวิตการทำงาน 6 ด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าตอบแทนที่
เพียงพอและยุติธรรม สภาพการทำงานที่ปลอดภัย โอกาสในการเพิ่มและพัฒนาขีดความสามารถ
ในการทำงาน การทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น สิทธิและเสรีภาพในการทำงาน
ความสมดุระหว่างานกับชีวิดส่วนตัว และด้านความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน 3 ด้าน ซึ่ง
ประกอบไปด้วย ความระลึกและกล่าวถึงองค์การในเชิงบวก ความปรารถนาเป็นสมาชิกของ
องค์การต่อไป และความทุ่มเทในการทำงาน นำข้อมูลที่ไห้ประมวลผลและวิเคราะห์ผลด้วย
โปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) ในการบรรยายข้อมูลเบื้องต้นผู้วิจัย
ใช้สถิติเชิงพรรณนา ((Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage)
ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ((Standard Deviation: S.D.) และใช้การทดสอบไคสแควร์
(Chi- square Test) เป็นสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ในการทคสอบสมมติฐานที่ ได้ตั้งไว้
ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมแรงานต่างด้าวสัญชาติพม่ามีคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ใน
ระดับพึงพอใจมาก โดยมีระดับความพึงพอใจมากเกือบทุกด้าน สำหรับระดับความพึงพอใจมาก
ที่สุดคือด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัย โดยมีค่าเฉลี่ย 2.87 รองลงมาคือด้านสิทธิเสริภาพในการทำงาน โดยมีค่าเฉลี่ย 2.83 และด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิดส่วนตัว โคยมีค่าเฉสี่ย 2.78
ยกเว้นค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุดิธรรมเพียงด้านเดียวที่มีความพอใจอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี
ค่าเฉลี่ย 2.26 สะท้อนให้เห็นว่าในภาพรวม (Total Compensation) แรงงานพม่าล้วนพึงพอใจมาก
กับสวัสดิการและคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ชี้ให้เห็นชัดเจนว่า สถานประกอบการ
สามารถบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงานของแรงงานต่างตัวเรื่องคำตอบแทนให้มีความ
เพียงพอและยุดิธรรมได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อพิจารณาผลการวิจัยในมิติฐานเงินเดือน (Base Salary)
พบว่า แรงานพม่ายังมีความกังวลในเรื่องของเงินล่วงเวลา (OT) ที่น้อยลง และค่าครองชีพใน
ประเทศไทยที่สูงขึ้น ส่งผลให้การเก็บออมรายได้บางส่วนเพื่อใช้จ่ายในอนาคตไม่เพียงพอ ด้วยเหตุ
นี้จึงทำให้ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมมีระดับความพึงพอใจปานกลาง ฉะนั้นการปรับ
ขึ้นค่าแรงจึงไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุด แต่ควรปรับค่าครองชีพให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ
รายได้ ประกอบกับสถานประกอบการควรมีสวัสดิการให้ความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายประเภทอื่น ๆ ที่
ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพของแรงงานด้วย เช่น อาหารกลางวัน ที่พักพนักงาน รถรับส่ง เป็น
ต้น เพื่อให้แรงงานมีคุณภาพชีวิตการทำงานด้านคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมดียิ่งขึ้น
สำหรับการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ
ของแรงานต่างด้าวพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงานทั้ง 6 ด้านน มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อ
องค์การของแรงานต่างด้าว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 ซึ่งเป็นการยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง
ไว้ทั้ง6 ข้อ นอกจากนี้จากการวิจัยยังพบว่า หากคุณภาพชีวิตในการทำงานดีย่อมส่งผลให้แรงงาน
ต่างด้าวเกิดความผูกพันต่อองค์การ ทำให้มีความปรารถนาเป็นสมาชิกขององค์การต่อไป มีความ
ระลึกถึงองค์การเสมอ อยากมีส่วนร่วมต่อองค์การและปฏิบัติดามกฎระเบียบขององค์การ ตลอดจน
กล่าวถึงองค์การในเชิงบวกและมีความทุ่มเทในการทำงานมากขึ้น ฉะนั้นองค์การควรศึกษา
พฤติกรรมหนักงาน เพื่อเข้าใจความต้องการ เข้าถึงความรู้สึก และนำไปสู่การพัฒนาพนักงานและ
องค์การ เพื่อวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานให้มีประสิทธิภาท สามารถสนอง
ความต้องการของพนักงานได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้เพื่อให้รูปแบบการสร้างคุณภาพชีวิดในการ
ทำงานมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของพนักงานแต่ละฝ่ายหรือแผนก ตลอดจน
เหมาะสมกับคำนิยมวัฒนธรรมองค์การ องค์กรควรเข้าไปศึกษาพฤติกรรมพนักงานในฝ่ายนั้นๆ
ไม่ควรวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพเดียวเพื่อเป็นสูตรสำเร็จ แล้วใช้
พัฒนากับทุกฝ่ายขององค์การ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยระดับคุณภาพชีวิดการทำงาน และวิจัยความสัมพันธ์ ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ โดยทำการวิจัยแรงานต่างด้าวสัญชาติ พม่าที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานจัดหางานอย่างถูกล้องดามกฎหมาย และทำงานอยู่ในโรงงานผลิต อาหาร อาหารกระป้อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาครทั้งสิ้น 7 โรงงาน จำนวน 375 คน ใช้ การสัมภาษณ์และแบบสอบถามในการเก็บข้อมูล โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ด้านคุณลักษณะของ ผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านคุณภาพชีวิตการทำงาน 6 ด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าตอบแทนที่ เพียงพอและยุติธรรม สภาพการทำงานที่ปลอดภัย โอกาสในการเพิ่มและพัฒนาขีดความสามารถ ในการทำงาน การทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น สิทธิและเสรีภาพในการทำงาน ความสมดุระหว่างานกับชีวิดส่วนตัว และด้านความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน 3 ด้าน ซึ่ง ประกอบไปด้วย ความระลึกและกล่าวถึงองค์การในเชิงบวก ความปรารถนาเป็นสมาชิกของ องค์การต่อไป และความทุ่มเทในการทำงาน นำข้อมูลที่ไห้ประมวลผลและวิเคราะห์ผลด้วย โปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) ในการบรรยายข้อมูลเบื้องต้นผู้วิจัย ใช้สถิติเชิงพรรณนา ((Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ((Standard Deviation: S.D.) และใช้การทดสอบไคสแควร์ (Chi- square Test) เป็นสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ในการทคสอบสมมติฐานที่ ได้ตั้งไว้ ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมแรงานต่างด้าวสัญชาติพม่ามีคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ใน ระดับพึงพอใจมาก โดยมีระดับความพึงพอใจมากเกือบทุกด้าน สำหรับระดับความพึงพอใจมาก ที่สุดคือด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัย โดยมีค่าเฉลี่ย 2.87 รองลงมาคือด้านสิทธิเสริภาพในการทำงาน โดยมีค่าเฉลี่ย 2.83 และด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิดส่วนตัว โคยมีค่าเฉสี่ย 2.78 ยกเว้นค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุดิธรรมเพียงด้านเดียวที่มีความพอใจอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี ค่าเฉลี่ย 2.26 สะท้อนให้เห็นว่าในภาพรวม (Total Compensation) แรงงานพม่าล้วนพึงพอใจมาก กับสวัสดิการและคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ชี้ให้เห็นชัดเจนว่า สถานประกอบการ สามารถบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงานของแรงงานต่างตัวเรื่องคำตอบแทนให้มีความ เพียงพอและยุดิธรรมได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อพิจารณาผลการวิจัยในมิติฐานเงินเดือน (Base Salary) พบว่า แรงานพม่ายังมีความกังวลในเรื่องของเงินล่วงเวลา (OT) ที่น้อยลง และค่าครองชีพใน ประเทศไทยที่สูงขึ้น ส่งผลให้การเก็บออมรายได้บางส่วนเพื่อใช้จ่ายในอนาคตไม่เพียงพอ ด้วยเหตุ นี้จึงทำให้ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมมีระดับความพึงพอใจปานกลาง ฉะนั้นการปรับ ขึ้นค่าแรงจึงไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุด แต่ควรปรับค่าครองชีพให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ รายได้ ประกอบกับสถานประกอบการควรมีสวัสดิการให้ความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายประเภทอื่น ๆ ที่ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพของแรงงานด้วย เช่น อาหารกลางวัน ที่พักพนักงาน รถรับส่ง เป็น ต้น เพื่อให้แรงงานมีคุณภาพชีวิตการทำงานด้านคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมดียิ่งขึ้น สำหรับการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ ของแรงานต่างด้าวพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงานทั้ง 6 ด้านน มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อ องค์การของแรงานต่างด้าว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 ซึ่งเป็นการยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง ไว้ทั้ง6 ข้อ นอกจากนี้จากการวิจัยยังพบว่า หากคุณภาพชีวิตในการทำงานดีย่อมส่งผลให้แรงงาน ต่างด้าวเกิดความผูกพันต่อองค์การ ทำให้มีความปรารถนาเป็นสมาชิกขององค์การต่อไป มีความ ระลึกถึงองค์การเสมอ อยากมีส่วนร่วมต่อองค์การและปฏิบัติดามกฎระเบียบขององค์การ ตลอดจน กล่าวถึงองค์การในเชิงบวกและมีความทุ่มเทในการทำงานมากขึ้น ฉะนั้นองค์การควรศึกษา พฤติกรรมหนักงาน เพื่อเข้าใจความต้องการ เข้าถึงความรู้สึก และนำไปสู่การพัฒนาพนักงานและ องค์การ เพื่อวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานให้มีประสิทธิภาท สามารถสนอง ความต้องการของพนักงานได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้เพื่อให้รูปแบบการสร้างคุณภาพชีวิดในการ ทำงานมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของพนักงานแต่ละฝ่ายหรือแผนก ตลอดจน เหมาะสมกับคำนิยมวัฒนธรรมองค์การ องค์กรควรเข้าไปศึกษาพฤติกรรมพนักงานในฝ่ายนั้นๆ ไม่ควรวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพเดียวเพื่อเป็นสูตรสำเร็จ แล้วใช้ พัฒนากับทุกฝ่ายขององค์การ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิจัยระดับคุณภาพชีวิดการทำงาน และวิจัยความสัมพันธ์ ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ โดยทำการวิจัยแรงานต่างด้าวสัญชาติ พม่าที่ขึ้นทะเบียนกับสำนักงานจัดหางานอย่างถูกล้องดามกฎหมาย และทำงานอยู่ในโรงงานผลิต อาหาร อาหารกระป้อง และอาหารแช่แข็ง จังหวัดสมุทรสาครทั้งสิ้น 7 โรงงาน จำนวน 375 คน ใช้ การสัมภาษณ์และแบบสอบถามในการเก็บข้อมูล โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ด้านคุณลักษณะของ ผู้ตอบแบบสอบถาม ด้านคุณภาพชีวิตการทำงาน 6 ด้าน ซึ่งประกอบไปด้วย ค่าตอบแทนที่ เพียงพอและยุติธรรม สภาพการทำงานที่ปลอดภัย โอกาสในการเพิ่มและพัฒนาขีดความสามารถ ในการทำงาน การทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น สิทธิและเสรีภาพในการทำงาน ความสมดุระหว่างานกับชีวิดส่วนตัว และด้านความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน 3 ด้าน ซึ่ง ประกอบไปด้วย ความระลึกและกล่าวถึงองค์การในเชิงบวก ความปรารถนาเป็นสมาชิกของ องค์การต่อไป และความทุ่มเทในการทำงาน นำข้อมูลที่ไห้ประมวลผลและวิเคราะห์ผลด้วย โปรแกรม SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) ในการบรรยายข้อมูลเบื้องต้นผู้วิจัย ใช้สถิติเชิงพรรณนา ((Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ((Standard Deviation: S.D.) และใช้การทดสอบไคสแควร์ (Chi- square Test) เป็นสถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) ในการทคสอบสมมติฐานที่ ได้ตั้งไว้ ผลการวิจัยพบว่า ในภาพรวมแรงานต่างด้าวสัญชาติพม่ามีคุณภาพชีวิตการทำงานอยู่ใน ระดับพึงพอใจมาก โดยมีระดับความพึงพอใจมากเกือบทุกด้าน สำหรับระดับความพึงพอใจมาก ที่สุดคือด้านสภาพการทำงานที่ปลอดภัย โดยมีค่าเฉลี่ย 2.87 รองลงมาคือด้านสิทธิเสริภาพในการทำงาน โดยมีค่าเฉลี่ย 2.83 และด้านความสมดุลระหว่างงานกับชีวิดส่วนตัว โคยมีค่าเฉสี่ย 2.78 ยกเว้นค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุดิธรรมเพียงด้านเดียวที่มีความพอใจอยู่ในระดับปานกลาง โดยมี ค่าเฉลี่ย 2.26 สะท้อนให้เห็นว่าในภาพรวม (Total Compensation) แรงงานพม่าล้วนพึงพอใจมาก กับสวัสดิการและคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม ชี้ให้เห็นชัดเจนว่า สถานประกอบการ สามารถบริหารจัดการคุณภาพชีวิตการทำงานของแรงงานต่างตัวเรื่องคำตอบแทนให้มีความ เพียงพอและยุดิธรรมได้เป็นอย่างดี แต่เมื่อพิจารณาผลการวิจัยในมิติฐานเงินเดือน (Base Salary) พบว่า แรงานพม่ายังมีความกังวลในเรื่องของเงินล่วงเวลา (OT) ที่น้อยลง และค่าครองชีพใน ประเทศไทยที่สูงขึ้น ส่งผลให้การเก็บออมรายได้บางส่วนเพื่อใช้จ่ายในอนาคตไม่เพียงพอ ด้วยเหตุ นี้จึงทำให้ด้านค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมมีระดับความพึงพอใจปานกลาง ฉะนั้นการปรับ ขึ้นค่าแรงจึงไม่ใช่ทางออกที่ดีที่สุด แต่ควรปรับค่าครองชีพให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับ รายได้ ประกอบกับสถานประกอบการควรมีสวัสดิการให้ความช่วยเหลือค่าใช้จ่ายประเภทอื่น ๆ ที่ ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการดำรงชีพของแรงงานด้วย เช่น อาหารกลางวัน ที่พักพนักงาน รถรับส่ง เป็น ต้น เพื่อให้แรงงานมีคุณภาพชีวิตการทำงานด้านคำตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรมดียิ่งขึ้น สำหรับการวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การ ของแรงานต่างด้าวพบว่า คุณภาพชีวิตในการทำงานทั้ง 6 ด้านน มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อ องค์การของแรงานต่างด้าว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 ซึ่งเป็นการยอมรับสมมติฐานที่ตั้ง ไว้ทั้ง6 ข้อ นอกจากนี้จากการวิจัยยังพบว่า หากคุณภาพชีวิตในการทำงานดีย่อมส่งผลให้แรงงาน ต่างด้าวเกิดความผูกพันต่อองค์การ ทำให้มีความปรารถนาเป็นสมาชิกขององค์การต่อไป มีความ ระลึกถึงองค์การเสมอ อยากมีส่วนร่วมต่อองค์การและปฏิบัติดามกฎระเบียบขององค์การ ตลอดจน กล่าวถึงองค์การในเชิงบวกและมีความทุ่มเทในการทำงานมากขึ้น ฉะนั้นองค์การควรศึกษา พฤติกรรมหนักงาน เพื่อเข้าใจความต้องการ เข้าถึงความรู้สึก และนำไปสู่การพัฒนาพนักงานและ องค์การ เพื่อวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานให้มีประสิทธิภาท สามารถสนอง ความต้องการของพนักงานได้อย่างแท้จริง นอกจากนี้เพื่อให้รูปแบบการสร้างคุณภาพชีวิดในการ ทำงานมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับความต้องการของพนักงานแต่ละฝ่ายหรือแผนก ตลอดจน เหมาะสมกับคำนิยมวัฒนธรรมองค์การ องค์กรควรเข้าไปศึกษาพฤติกรรมพนักงานในฝ่ายนั้นๆ ไม่ควรวางกรอบแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพเดียวเพื่อเป็นสูตรสำเร็จ แล้วใช้ พัฒนากับทุกฝ่ายขององค์การ
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2558