กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing) กับการรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
dc.contributor.advisor | พัชนี เชยจรรยา | th |
dc.contributor.author | ดาณี ทรงศิริเดช | th |
dc.date.accessioned | 2021-12-30T03:28:53Z | |
dc.date.available | 2021-12-30T03:28:53Z | |
dc.date.issued | 2016 | th |
dc.date.issuedBE | 2559 | th |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559 | th |
dc.description.abstract | การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing)ของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing) และศึกษาพฤติกรรมการรับรู้ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ในการวจิยั คร้ังนี้ผู้วิจัยได้ทำการวิจัย 2 แบบคือ วิจัยเชิงคุณภาพ และวิจัยเชิงปริมาณ โดยในการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทำการตลาดแบบพันธมิตร หรือผู้ทำการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketer) เกี่ยวกับกลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing) ส่วนการศึกษาด้วยวิธีวิจัย เชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้ทำแบบสอบถ าม (Questionnaire) และทำการสอบถามไปยังกลุ่มผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต 426 คน เกี่ยวกับลักษณะ ประชากร การรับรู้ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ T-test, F-test (One way ANOVA) แ ล ะ Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient ทดสอบสมมติฐานการวิจยัผลการวิจัยในเชิงคุณภาพพบว่า กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบ พันธมิ ตร (Affiliate Marketing) หากสามารถ วิเคราะห์ ความ ต้องการข องผู้บริโภคได้มี ความสามารถในการสร้างเนื้อหาการนำเสนอให้ดึงดูดผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ใช้ช่องทางการ นำเสนอไปยังผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต ถ้าใช้ให้ถูกกลุ่มเป้าหมาย และที่สำคัญ ความขยัน อดทน และ ความสม่ำเสมอของการนำเสนอสินค้าส่วนผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ด้านพฤติกรรมการรับรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์มีผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตให้ความร่วมมือในคร้ังนี้ เป็นจำนวน 426 คน โดยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษา ปริญญาตรีซึ่งกำลังเป็นนักศึกษาอยู่มีรายได้อยู่ในช่วง 10,000 บาทหรือต่ำ กว่าโดยในด้านการรับรูถึงร้านค้าออนไลน์ส่วนใหญ่จะเป็นช่วงหัวค่ำ ซึ่งสถานที่คือที่บ้านหรือที่อยู่อาศัย โดยช่องทางที่ รับรู้คือสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) จากโทรศัพท์มือถือ ในด้านทัศนคติพบว่า ร้านค้า ออนไลน์ให้ความสะดวกสบายในการเลือกซื้อสินค้ามากที่สุด และพฤติกรรมในการซื้อคือส่วน ใหญ่เลือกซื้อเพราะมีสินค้าลดราคาด้านการทดสอบสมมติฐานพบว่า อาชีพที่แตกต่างกัน มีทศันคติ เกี่ยวกับการบริโภคสินค้าผ่านทางร้านค้าออนไลน์ที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 ในขณะที่เพศอายุการศึกษาและรายได้มีทัศนคติเกี่ยวกับการบริโภคสินค้าผ่านทางร้านค้าออนไลน์ไม่แตกต่างกัน เช่นเดียวกับ เพศอายุการศึกษาอาชีพ และรายได้ที่แตกต่าง มีการรับรู้และ พฤติกรรมการบริโภคสินค้าผ่านทางร้านค้าออนไลน์ไม่แตกต่างกัน และด้านความสัมพันธ์พบว่า ระหว่างการรับรู้และทัศนคติของกลุ่มตัวอย่าง มีทิศทางไปในเชิงบวกและมีระดับความสัมพันธ์อยู่ ในระดับต่ำ เช่นเดียวกับความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มตัวอย่าง ในขณะที่ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และพฤติกรรมการซื้อของกลุ่มตัวอย่างมีทิศทางไปใน เชิงบวกแต่มีระดับความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง | th |
dc.format.extent | 144 แผ่น | th |
dc.format.mimetype | application/pdf | th |
dc.identifier.doi | 10.14457/NIDA.the.2016.132 | |
dc.identifier.other | b194238 | th |
dc.identifier.uri | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5366 | th |
dc.language.iso | tha | th |
dc.publisher | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
dc.rights | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) | th |
dc.subject | การตลาดแบบพันธมิตร | th |
dc.subject.other | การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | th |
dc.subject.other | พฤติกรรมผู้บริโภค | th |
dc.title | กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบพันธมิตร (Affiliate Marketing) กับการรับรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคผ่านทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) | th |
dc.title.alternative | Affiliate marketing strategies with attitude and customers behavior on purchasing via e-commerce | th |
dc.type | text--thesis--master thesis | th |
mods.genre | Thesis | th |
mods.physicalLocation | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา | th |
thesis.degree.department | คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ | th |
thesis.degree.discipline | นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม | th |
thesis.degree.grantor | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
thesis.degree.level | Masters | th |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | th |