ผลกระทบจากโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊กและแนวทางการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊ก

dc.contributor.advisorบุหงา ชัยสุวรรณth
dc.contributor.authorณพล ผลากรกุลth
dc.date.accessioned2022-01-24T07:07:17Z
dc.date.available2022-01-24T07:07:17Z
dc.date.issued2016th
dc.date.issuedBE2559th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559th
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ผลกระทบ และสร้างแนวทางสร้างการรู้เท่าทันสื่อ ต่อโฆษณาบนเว็บไซต์เครือข่ายสังคมประเภทเฟซบุ๊ก ด้วยการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมดจํานวน 15 คน แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มผู้ที่ทํางานเกี่ยวข้องกบการผลิตสื่อโฆษณา กลุ่มตัวแทนผู้บริโภค และเฝ้ าระวังสื่อ และกลุ่มนักวิชาการด้านสื่อมวลชน โดยผลการวิจัยพบดังนี้ 1) สภาวะปัญหาต่างๆ และผลกระทบทางด้านลบของโฆษณาบนสื่อสังคม ประเภทเฟซบุ๊กแบ่งออกเป็น (1.1) สภาวะปัญหาเกี่ ยวกบความสามารถในการแยกแยะโฆษณา ( 1.2) สภาวะปัญหาของกลุ่มคนที่ผลิตโฆษณาขาดความรับผิดชอบ (1.3) ปัญหาในการสร้างค่านิยม 2) ประเภทของการโฆษณาบนสื่อสังคมประเภทเฟซบุ๊กที่มีปัญหา และผลกระทบ ต่อผู้บริโภค คือ แหล่งที่มาประเภทผู้ประกอบธุรกิจรายย่อย และแหล่งที่มาประเภทบุคคล 3) ปัญหาของกฎหมาย จรรยาบรรณ และจริยธรรม ที่ควบคุมผู้ผลิตสื่อโฆษณา บนสื่อสังคมแบ่งออกเป็น (3.1) ปัญหาเกี่ ยวกบการบังคับใช้กฎหมาย ( 3.2) การขาดความรู้ทางด้าน กฎหมาย จรรยาบรรณ และจริยธรรมของผู้ผลิตโฆษณา (3.3) การใช้กฎหมาย หรือจริยธรรมที่ไม่ได้ผล 4) พฤติกรรมการโฆษณาบนสื่อสังคมประเภทเฟซบุ๊กที่ละเมิดกฎหมาย หรือไม่ เหมาะสมต่อจรรยาบรรณ และจริยธรรมที่แบ่งออกเป็ น (4.1) พฤติกรรมการโฆษณาสินค้าที่ไม่ สามารถโฆษณาได้ในสื่อหลัก (4.2) การโฆษณาที่กล่าวอ้างสรรพคุณเกินจริง (4.3) การโฆษณาที่ ละเมิดกฎหมาย 5) ความสําคัญเกี่ยวกับ การรู้เท่าทันสื่อ ในการเปิ ดรับโฆษณาบนสื่อสังคม ประเภทเฟซบุ๊กในประเทศไทย คือ สําคัญต่อผู้บริโภคเป็นอยางมาก 6) แนวทางการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาบนสื่อสังคม ได้แก่กระบวนการที่ผู้รับสาร ต้องสามารถดําเนินการ ดังนี้ แยกแยะความเป็นโฆษณา รับชมเนื้อหาในครบถ้วน ไตร่ตรองความ เป็นจริง รับรู้จุดประสงค์ ตรวจสอบแหล่งที่มา หาข้อมูลเพิ่ มเติม เช็คความคิดเห็น ระวังการกดไลค์ และแสดงความคิดเห็น และส่งต่อด้วยความจริงth
dc.format.extent129 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.doi10.14457/NIDA.the.2016.75
dc.identifier.otherb193279th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5415th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subject.otherสื่อสังคมออนไลน์|โฆษณาทางอินเทอร์เน็ตth
dc.subject.otherโฆษณาทางอินเทอร์เน็ตth
dc.titleผลกระทบจากโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊กและแนวทางการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาบนเว็บไซต์สื่อสังคมเฟซบุ๊กth
dc.title.alternativeEffect and media literacy guideline for facebook advertisingth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการth
thesis.degree.disciplineนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b193279.pdf
Size:
2.03 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
Collections