การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการติดตามผู้กระทำความผิดทางอาญากรณีศึกษาเด็กและเยาวชน

dc.contributor.advisorเกียรติพร อำไพth
dc.contributor.authorขวัญเรือน ลีโคกกลางth
dc.date.accessioned2021-03-11T02:52:10Z
dc.date.available2021-03-11T02:52:10Z
dc.date.issued2019th
dc.date.issuedBE2562th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2562th
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงหลักการ แนวคิด ทฤษฎีและที่มาเกี่ยวกับการนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้กับเด็กและเยาวชน ศึกษาเปรียบเทียบหลักเกณฑ์มาตรการเกี่ยวกับเด็กและเยาวชน โดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ตามกฎหมายต่างประเทศที่อาจนำมาปรับใช้ในประเทศไทย วิเคราะห์ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับเด็กและเยาวชน และเพื่อเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาระบบกฎหมายไทยเพื่อให้มีความชัดเจนและมีผลบังคับใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อพิจารณากระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยมีจุดมุ่งหมายที่จะแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิดให้กลับเข้าอยู่ในสังคมอย่างแท้จริง เป็นการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำความผิดซึ่งได้มีมาตรการที่เหมาะสม คือ การนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้กับเด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดในทางอาญา เพื่อลดปัญหาความไม่เท่าเทียมกันในสังคม การลดปัญหาความแออัดในสถานพินิจ ลดการตีตราของผู้กระทำความผิด และช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐในระยะยาวในการดูแลบุคคลที่อยู่ในสถานพินิจ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มประเทศที่มีกฎหมายในการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กับเด็กและเยาวชน และกลุ่มประเทศที่ไม่มีการกำหนดกฎหมายไว้เป็นการเฉพาะสำหรับเด็กและเยาวชน พบว่ากลุ่มประเทศที่มีการใช้กฎหมายเฉพาะสำหรับเด็กและเยาวชนประสบความสำเร็จในการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งพบว่ามีข้อดี คือ เป็นการลดปัญหาความแออัดในเรือนจำ ลดการกระทำความผิดซ้ำ การก่ออาชญากรรมลดลง ลดการตีตราผู้กระทำความผิด ช่วยลดค่าจ่ายของรัฐบาล เป็นต้น ดังนั้นผู้ศึกษาจึงขอเสนอแนวทางในการมีกฎหมายเฉพาะเพื่อให้มีมาตรการที่เหมาะสมในการนำ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้กับเด็กและเยาวชนในกรณีการปล่อยตัวชั่วคราว และกรณีภายหลังมีคำพิพากษา เพื่อให้เด็กและเยาวนที่ได้กระทำความผิดสามารถกลับเข้าสู่สังคมได้อย่างแท้จริงth
dc.description.abstractThe objective of this research aims to study the theory and concept of using electronic monitoring in the juvenile comparison with the criteria of using electronic devices (EM) in the juvenile according to the context of foreign laws which should be implement to the context of Thai Society and to purpose the suitable ways to improve and develop the Thai Legal System to ensure that the use of the electronic monitoring devise with the juvenile is more clearly and effective. Criminal justice system in Thailand aims to rehabilitating offenders instead of seeking to punish with a retributive purpose that the offenders can be truly transformed from the criminal offenders into a law-abiding citizen. Therefore, an electronic device, which considers an appropriate measure, has been used with a juvenile delinquency in order to eliminate inequality within society, to help solve the problem of crowded juvenile detention center, to avoid the problem of condemning offenders as well as to reduce the government spending in taking care of the offenders in the detention center. Through the study, it is found that there are 4 countries using this measure. In those countries, it can be divided into two groups; the first is the group of countries which has the specific law on using the electronic monitoring devise with the juvenile, second group is the countries which have not the specific law. Which the first country group being more successful than the second group. There were some advantages; for example, Reduction of crowded detention center, repeat offense and government xpenditure. Consequently, It is recommended that Thailand should be implement the electronic monitoring device for juveniles in case of a provisional release or after a court judgment. So, these can give as to give an opportunity for the juvenile to come back to the society.th
dc.format.extent224 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb210736th
dc.identifier.urihttps://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5099th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjecte-Thesisth
dc.subjectอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectการติดตามผู้กระทำความผิดth
dc.subject.otherเด็ก -- การกระทำผิดth
dc.subject.otherเยาวชน -- การกระทำผิดth
dc.titleการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ในการติดตามผู้กระทำความผิดทางอาญากรณีศึกษาเด็กและเยาวชนth
dc.title.alternativeThe use of an electronic monitoring device for tracking criminal offenders : a case study of children and youthth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b210736.pdf
Size:
11.21 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
115 B
Format:
Plain Text
Description:
Collections