นโยบายเกษตรเพื่อรองรับ BCG
Publisher
Issued Date
2023
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
75 หน้า
ISBN
9786169225072
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
b216194
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา และปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ. (2566). นโยบาย เกษตรเพื่อรองรับ BCG. มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
Citation
อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, ปริญญารัตน์ เลี้ยงเจริญ (2023). นโยบายเกษตรเพื่อรองรับ BCG. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/6654.
Title
นโยบายเกษตรเพื่อรองรับ BCG
Alternative Title(s)
Editor(s)
Advisor(s)
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
สถานการณ์ปัญหาของพืชเศรษฐกิจ 4 ชนิด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
มันสำปะหลัง และยางพารา การเพาะปลูกพืชเหล่านี้มีการขยายพื้นที่รุกล้ำ เข้าไปในพื้นที่ป่า
การเผชิญปัญหาราคาสินค้าเกษตรที่มีความผันผวน และผลผลิตต่อไร่ที่ยังต่ำ
เมื่อเปรียบเทียบกับหลายประเทศ การเข้าถึงองค์ความรู้ และการนำ เทคโนโลยี
และนวัตกรรมมาใช้ยังไม่เพียงพอโดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อย รวมถึงการใช้ปุ๋ยเคมี
หรือยาฆ่าแมลงต่าง ๆ เพื่อเพิ่มผลผลิตทำ ให้มีต้นทุนการผลิตที่สูง ประกอบกับปัญหา
ความแปรปรวนของสภาพอากาศและภัยธรรมชาติ โดยเฉพาะความรุนแรงของพายุและ
สถานการณ์นํ้าท่วมน้ำแล้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อปริมาณและคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร
ของพืชเศรษฐกิจหลักและผลกระทบต่อรายได้และความเป็นอยู่ของเกษตรกร
การแทรกแซงราคาสินค้าเกษตรและการพยุงราคาพืชเศรษฐกิจหลัก 4 ชนิด ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการทำ การเกษตรอย่างยั่งยืน ทำ ให้ไม่เกิดการพัฒนา อย่างแท้จริง ส่งผลกระทบต่อความเข้มแข็งของภาคเกษตรในระยะยาว และความสามารถ ในการแข่งขันกับพืชเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า รวมทั้งก่อให้เกิดความสูญเสีย ทางด้านรายได้จากการที่ภาครัฐจะต้องจ่ายเงินให้เกษตรกร และรับซื้อข้าวส่วนเกิน ซึ่งเป็นภาระทางการคลังของประเทศ อีกทั้งนโยบายอุดหนุนแบบไม่มีเงื่อนไข เป็นการทำลายแรงจูงใจของเกษตรกรในการรับมือกับผลกระทบที่เกิดขึ้น
อย่างไรก็ตาม แนวทางสำคัญของการพัฒนาการเกษตรที่เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG มุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกร และสร้างความสามารถ ในการแข่งขันในภาคการเกษตรอย่างยั่งยืน การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ และการลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งในปัจจุบันภาครัฐมีการดำ เนิน นโยบายหรือมาตรการด้านการเกษตรที่มีความสอดคล้องกับโมเดลเศรษฐกิจ BCG ในหลายมาตรการ แต่ต้องเพิ่มแนวทาง ได้แก่ การลดหรือยกเลิกการช่วยเหลือผ่านรายได้และราคาผลผลิตอย่างค่อยเป็นค่อยไป การแยกมาตรการลดความยากจนออก จากนโยบายเกษตรและกำ หนดมาตรการเพื่อลดความยากจนโดยเฉพาะ (Poverty Target) การพัฒนาด้านนวัตกรรมทางการเกษตรที่ครอบคลุม 3 มิติของ BCG การสนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรที่คุ้มค่าทั้งด้าน การเงินและเศรษฐกิจ และการส่งเสริมการทำ การเกษตรอย่างยั่งยืนและเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ผ่านกลไกทางการเงินและการคลังที่เป็นการช่วยเหลือแบบมีเงื่อนไข เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเกษตรและการใช้ทรัพยากรอย่างสมดุลเพื่อขับเคลื่อน ภาคการเกษตรของประเทศไทยให้มีการปรับตัวสู่การพัฒนาตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG อย่างแท้จริง
การแทรกแซงราคาสินค้าเกษตรและการพยุงราคาพืชเศรษฐกิจหลัก 4 ชนิด ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการทำ การเกษตรอย่างยั่งยืน ทำ ให้ไม่เกิดการพัฒนา อย่างแท้จริง ส่งผลกระทบต่อความเข้มแข็งของภาคเกษตรในระยะยาว และความสามารถ ในการแข่งขันกับพืชเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า รวมทั้งก่อให้เกิดความสูญเสีย ทางด้านรายได้จากการที่ภาครัฐจะต้องจ่ายเงินให้เกษตรกร และรับซื้อข้าวส่วนเกิน ซึ่งเป็นภาระทางการคลังของประเทศ อีกทั้งนโยบายอุดหนุนแบบไม่มีเงื่อนไข เป็นการทำลายแรงจูงใจของเกษตรกรในการรับมือกับผลกระทบที่เกิดขึ้น
อย่างไรก็ตาม แนวทางสำคัญของการพัฒนาการเกษตรที่เน้นการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตภายใต้โมเดลเศรษฐกิจ BCG มุ่งเน้นการสร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกร และสร้างความสามารถ ในการแข่งขันในภาคการเกษตรอย่างยั่งยืน การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ และการลด ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งในปัจจุบันภาครัฐมีการดำ เนิน นโยบายหรือมาตรการด้านการเกษตรที่มีความสอดคล้องกับโมเดลเศรษฐกิจ BCG ในหลายมาตรการ แต่ต้องเพิ่มแนวทาง ได้แก่ การลดหรือยกเลิกการช่วยเหลือผ่านรายได้และราคาผลผลิตอย่างค่อยเป็นค่อยไป การแยกมาตรการลดความยากจนออก จากนโยบายเกษตรและกำ หนดมาตรการเพื่อลดความยากจนโดยเฉพาะ (Poverty Target) การพัฒนาด้านนวัตกรรมทางการเกษตรที่ครอบคลุม 3 มิติของ BCG การสนับสนุนการลงทุนด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการเกษตรที่คุ้มค่าทั้งด้าน การเงินและเศรษฐกิจ และการส่งเสริมการทำ การเกษตรอย่างยั่งยืนและเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม ผ่านกลไกทางการเงินและการคลังที่เป็นการช่วยเหลือแบบมีเงื่อนไข เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเกษตรและการใช้ทรัพยากรอย่างสมดุลเพื่อขับเคลื่อน ภาคการเกษตรของประเทศไทยให้มีการปรับตัวสู่การพัฒนาตามโมเดลเศรษฐกิจ BCG อย่างแท้จริง
Table of contents
Description
หนังสือเล่มนี้อ้างอิงเนื้อหาจากรายงานโครงการนโยบายการเกษตรเพื่อรองรับ BCG ที่ดำ เนินการโดย
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ร่วมกับ สำนักประสาน “งานวิจัยเชิงนโยบายเกษตรและเสริมสร้าง
เครือข่ายงานวิจัยเชิงนโยบาย” สถาบันคลังสมองของชาติ และได้รับทุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
Description
Sponsorship
มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
สถาบันคลังสมองของชาติ
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ