ความเสี่ยงในการเกิดภาวะล้มละลายจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุไทย
dc.contributor.advisor | เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์ | th |
dc.contributor.author | สมพร เพชตะกร | th |
dc.date.accessioned | 2020-06-12T08:45:47Z | |
dc.date.available | 2020-06-12T08:45:47Z | |
dc.date.issued | 2018 | th |
dc.date.issuedBE | 2561 | th |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม. (สถิติประยุกต์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2561 | th |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณความเสี่ยงในการเกิดภาวะล้มละลายจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ โดยพิจาราณาในประเด็นของความชุกและความรุนแรงของการเกิดภาวะดังกล่าว นอกจากนี้ยังศึกษาอิทธิพลของปัจจัยด้านสิทธิการรักษาพยาบาลและปัจจัยด้านสุขภาพที่มีต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะล้มละลายจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุไทย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของแผนงานวิจัยเรื่อง ความอยู่ดีมีสุขของผู้สูงอายุไทย (Well-being of the Elderly in Thailand-HART) รอบที่ 2 จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2560 (WAVE 2) ตัวอย่างของการศึกษานี้คือผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 1,613 คน ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุวัยต้นมีความชุกในการเกิดภาวะล้มละลายจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพมากกว่าช่วงวัยอื่นๆ แต่ผู้สูงอายุวัยปลายมีความรุนแรงของความเสี่ยงในการเกิดภาวะล้มละลายจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูงกว่าผู้สูงอายุวัยกลางและวัยต้น ในส่วนการศึกษาอิทธิพลของปัจจัยด้านสิทธิการรักษาพยาบาลและด้านสุขภาพที่มีต่อความเสี่ยงนั้นพบว่า ปัจจัยด้านสุขภาพเป็นตัวแปรที่สำคัญที่มีผลต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะล้มละลาย โดยตัวแปรที่มีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ จำนวนโรคเรื้อรัง และการประเมินตนเองทั้งด้านสุขภาพกายและจิตใจ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 , 0.05 และ 0.01 ตามลำดับ | th |
dc.description.abstract | The main objective of this study was to estimate the risk of catastrophic health expenditures, considering in terms of its prevalence and intensity. Additionally, the risk factors related to the human right to healthcare and personal health conditions were examined. The study used secondary data derived from the research program: Well-being of the Elderly in Thailand (HART--WAVE 2). The survey was conducted in 2017 by the National Institute of Development Administration. The studied sample composed of 1,613 elderly people aged 60 years and over. The result indicated that the early-elder had higher estimated risk prevalence while the late-elder had higher intensity of risk of catastrophic health expenditures than the other age groups. Regarding risk factor analysis, it was found that only chronic diseases and self-assessment of both mental and physical health status, as measures of personal health conditions, were statistically significance at 0.01 , 0.05 , 0.01 level, respectively. | th |
dc.format.extent | 74 แผ่น | th |
dc.format.mimetype | application/pdf | th |
dc.identifier.other | b208003 | th |
dc.identifier.uri | https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5029 | th |
dc.language.iso | tha | th |
dc.publisher | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
dc.rights | ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0) | th |
dc.subject | e-Thesis | th |
dc.subject | ภาวะล้มละลายจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ | th |
dc.subject | ค่ารักษาพยาบาลที่จ่ายด้วยตนเอง | th |
dc.subject | ผู้สูงอายุไทย | th |
dc.subject.other | ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย -- ค่าใช้จ่าย | th |
dc.subject.other | ผู้สูงอายุ -- ค่าใช้จ่าย | th |
dc.title | ความเสี่ยงในการเกิดภาวะล้มละลายจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของผู้สูงอายุไทย | th |
dc.title.alternative | Risk of catastrophic health expenditures among Thai elderly | th |
dc.type | text--thesis--master thesis | th |
mods.genre | Thesis | th |
mods.physicalLocation | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา | th |
thesis.degree.department | คณะสถิติประยุกต์ | th |
thesis.degree.discipline | สถิติประยุกต์ | th |
thesis.degree.grantor | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ | th |
thesis.degree.level | Masters | th |
thesis.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th |