หลักเกณฑ์ของข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดกับหลักความสมเหตุสมผล: ศึกษากรณีการผลิตสุกรขุนในระบบเกษตรพันธสัญญาของไทย
Files
Publisher
Issued Date
2016
Issued Date (B.E.)
2559
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
210 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
Other identifier(s)
b196245
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ฉัตรชัย ปณีตะผลินทร์ (2016). หลักเกณฑ์ของข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดกับหลักความสมเหตุสมผล: ศึกษากรณีการผลิตสุกรขุนในระบบเกษตรพันธสัญญาของไทย. Retrieved from: https://repository.nida.ac.th/handle/662723737/5272.
Title
หลักเกณฑ์ของข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดกับหลักความสมเหตุสมผล: ศึกษากรณีการผลิตสุกรขุนในระบบเกษตรพันธสัญญาของไทย
Alternative Title(s)
The exception or limitation liability rules and reasonableness : case study fattening pig productions in Thai contract farming system
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
ตามที่ระบบเกษตรพันธสัญญาเป็นความตกลงเข้าทำสัญญาของเกษตรกรฟาร์มผู้ผลิตสุกรขุน ที่ ไม่มีอำนาจในการต่อรองทางด้านเศรษฐกิจ และถูกบริษัทซึ่งเป็นคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเอาเปรียบ โดยใช้สัญญาสำเร็จรูปเป็นเครื่องมือและมีการร่างสัญญาไว้ล่วงหน้ำ รวมทั้งเป็นตลาดผูกขาดทำให้ ฟาร์มผู้ผลิตสุกรขุนขาดทางเลือกและต้องจำยอมเข้าทำสัญญาการผลิต ดังนั้นวิทยานิพนธ์เล่มนี้จึงมี วัตถุประสงค์จำนวน 4 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาความสำคัญในหลักเกณฑ์ของข้อตกลงยกเว้นหรือ จำกัดความรับผิดกับหลักความสมเหตุสมผล: ศึกษากรณีการผลิตสุกรขุนในระบบเกษตรพันธสัญญาของไทย 2) เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดกับหลักความสมเหตุสมผล: ศึกษากรณีกรผลิตสุกรขุนในระบบเกษตรพันธสัญญาของไทย 3) เพื่อหาแนวทำงแก้ไขและมาตรการ ในการสร้างความเป็นธรรมและคุ้มครองสิทธิให้แก่เกษตรกรฟาร์มผู้ผลิตสุกรขุน 4) ต้องกำรศึกษา กฎหมายเกษตรพันธสัญญาและข้อสัญญำที่ไม่เป็นธรรม โดยการเปรียบเทียบระหว่างร่าง พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรพันธสัญญาที่เป็นธรรม พ.ศ. ... ของไทยกับ ต่างประเทศ ทั้งนี้สามารถจำแนกได้2 ส่วนคือกฎหมายเกษตรพันธสัญญา (Contract Farming Act) กับกฎหมายว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม (Unfair Contract Terms Act) โดยมีวิธีการศึกษาและ การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) และข้อมูลปฐมภูมิที่ เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่า ข้อตกลงยกเว้นหรือจำกัดความรับผิดของบริษัทในสัญญาการผลิตสุกรขุน จากระบบเกษตรพันธสัญญาของไทยเป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม เพราะเป็นการกระทำของบริษัทที่ ขัดต่อหลักเกณฑ์ของหลักความสมเหตุสมผล ดังนั้นจึงต้องแก้ไขโดยการนำร่างพระรำชบัญญัติส่งเสริม และพัฒนำระบบเกษตรพันธสัญญำที่เป็นธรรม พ.ศ. ... มำใช้บังคับ และนำเอากฎหมายเกษตรพันธสัญญาในต่ำงประเทศมาประยุกต์ใช้จากประเทศสหรัฐอเมริกา ได้แก่ The Code of the Virginia 2012 ซึ่งบังคับให้สุกรทุกตัวต้องปลอดจากโรคแท้งติดต่อ (Brucellosis) และโรคพิษสุนัขบ้ำเทียม (Pseudorabies), The Kansas Statutes 2012 ซึ่งใช้หลักสุจริตและให้บริษัทแม่เป็นผู้รับผิดชอบใน ค่ำเสียหายโดยมีการเรียกเก็บจากบริษัทลูกซึ่งให้ชำระเงินทันทีและมีความเป็นธรรม หากมีข้อพิพาท ต้องเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ยและอนุญาโตตุลาการ, The Producer Production Act 2000 ซึ่ง เป็นพระราชบัญญัติที่มุ่งเน้นให้ความคุ้มครองสิทธิแก่เกษตรกร และสถาบันระหว่างประเทศเพื่อกำร จัดทำกฎหมายเอกชนให้เป็นเอกภาพ (The International Institute for the Unification of Private Law) ได้แก่ The Legal Guide on Contract Farming 2010 ซึ่งเป็นคู่มือทางด้านกฎหมาย ที่เน้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงตลาดให้กับเกษตรกรรายย่อย และเพิ่มความมั่นคงทางด้านอาหาร รวมทั้งกฎหมายว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมในประเทศอังกฤษ จำนวน 3 ฉบับ ได้แก่ The Unfair Contract Terms Act 1977 ประกอบกับ The Fair Trading Act 1973 รวมทั้ง The Unfair Contract Terms Act 1997 และประเทศเยอรมนีจำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ The Standard Terms Act 1976 และ The Standard Form Contracts Act 1997 ซึ่งกำหนด แนวทำงให้ศาลวินิจฉัยข้อสัญญา แบ่งได้ชนิด คือ 1) เป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมชนิดเด็ดขาด ที่ศาล ต้องพิพากษาให้ข้อสัญญานี้ตกเป็นโมฆะ 2) เป็นข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมชนิดไม่เด็ดขาด ทำให้สัญญา มีผลบังคับได้โดยที่ศาลต้องวินิจฉัยในเนื้อหาสำระสำคัญของสัญญาเป็นหลัก อย่างไรก็ตามผู้เขียนมีข้อเสนอแนะ โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ 1) ด้านความเสมอ ภาคในอำนำจการต่อรองทางด้านเศรษฐกิจ 2) ด้านการประกันความเสี่ยง
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2559