แบบจำลองเชิงโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-payment) ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร

dc.contributor.advisorพรพรรณ ประจักษ์เนตรth
dc.contributor.authorบัญชา หมั่นกิจการth
dc.date.accessioned2019-01-20T07:32:41Z
dc.date.available2019-01-20T07:32:41Z
dc.date.issued2017th
dc.date.issuedBE2560th
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2560th
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยง ความปลอดภัย ประสบการณ์ในอดีต คุณภาพสารสนเทศ คุณภาพระบบ คุณภาพการบริการ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่าย ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการใช้งาน และการใช้งานจริงกับระบบ ที่สามารถพยากรณ์การยอมรับเทคโนโลยีระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-payment) ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ด้านการรับรู้ความเสี่ยง ความปลอดภัย ประสบการณ์ในอดีต คุณภาพสารสนเทศ คุณภาพระบบ คุณภาพการบริการ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่าย ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการใช้งาน และการใช้งานจริงกับระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-payment) ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร (3) เพื่อทดสอบความสอดคล้องแบบจำลองเชิงโครงสร้างกับข้อมูลเชิงประจักษ์ของปัจจัยการรับรู้ความเสี่ยง ความปลอดภัย ประสบการณ์ในอดีต คุณภาพสารสนเทศ คุณภาพระบบ คุณภาพการบริการ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่าย ความตั้งใจเชิงพฤติกรรมในการใช้งาน และการใช้งานจริงกับระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-payment) ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร 200 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่มีความเชื่อมั่น (Alpha Coefficient) อยู่ระหว่าง 0.722 – 0.923 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ SEM ผลการวิจัย พบว่า แบบจำลองเชิงโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-payment) ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าความกลมกลืนได้แก่ ค่าดัชนี Chi-Square/df = 2.501, NFI = 0.908,  CFI = 0.915 IFI = 0.917 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดทั้งสิ้น 4 ค่าดัชนี จากทั้งหมด 11 ค่าดัชนี และพบว่า ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อการใช้งานจริง คือ คุณภาพสารสนเทศ คุณภาพระบบ คุณภาพการบริการ การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความง่าย และความตั้งใจเชิงพฤติกรรม ส่วนการรับรู้ความเสี่ยงมีอิทธิพลทางตรงเชิงลบต่อการใช้งานจริง การรับรู้ความปลอดภัย และประสบการณ์ในอดีต มีอิทธิพลทางอ้อมเชิงบวกต่อการใช้งานจริงth
dc.description.abstractThis research was aimed to: (1) examine perceived risk, perceived security, prior experience, information quality, system quality, service quality, perceived usefulness, perceived ease of use toward acceptance of government electronic payment system among elderly in Bangkok; (2) investigate correlation between perceived risk perceived security, prior experience, information quality, system quality, service quality, perceived usefulness, perceived ease of use, and behavioral intention and acceptance of government electronic payment system among elderly in Bangkok; and (3) validate structural equation model of factors influencing of perceived risk perceived security prior experience information quality, system quality, service quality, perceived usefulness, perceived ease of use and behavioral intention on acceptance of government electronic payment system among elderly in Bangkok. This research is quantitative method by employing of 200 respondents who were elderlies residing in Bangkok. Validated questionnaires with alpha coefficient of 0.722 – 0.923 were used as a research tool. Structural equation model statistical technique was used to analyzed data. The finding revealed that the validation of structural equation model of factors influencing acceptance of government electronic payment system among elderly in Bangkok was in congruence with empirical data, which passes the criteria of 4 form 11 fit indices as follow (1) Chi-Square/df = 2.501  (2) NFI = 0.908  (3)CFI = 0.915, and  (4) IFI = 0.917. It also found that information quality, system quality, service quality, perceived usefulness, perceived ease of use and behavioral intention had a direct positive effect on actual government electronic payment system. In addition, perceived risk was found to have a direct negative effect on actual government electronic payment system whereas perceived security, prior experience were found to have an indirect positive effect on actual government electronic payment system.th
dc.format.extent179 แผ่นth
dc.format.mimetypeapplication/pdfth
dc.identifier.otherb203288th
dc.identifier.urihttp://repository.nida.ac.th/handle/662723737/4084th
dc.language.isothath
dc.publisherสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
dc.rightsผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)th
dc.subjecte-Thesisth
dc.subjectวิทยานิพนธ์ได้รับรางวัลth
dc.subjectวิทยานิพนธ์รางวัลดีth
dc.subjectการยอมรับth
dc.subjectระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์th
dc.subjectแบบจำลองสมการโครงสร้างth
dc.subject.otherผู้สูงอายุth
dc.titleแบบจำลองเชิงโครงสร้างของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยีระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ (e-payment) ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานครth
dc.title.alternativeStructural equation model of factors influencing acceptance of government electronic payment system among elderly in Bangkokth
dc.typetext--thesis--master thesisth
mods.genreThesisth
mods.physicalLocationสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนาth
thesis.degree.departmentคณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการth
thesis.degree.disciplineนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมth
thesis.degree.grantorสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์th
thesis.degree.levelMastersth
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
Files
Original bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
b203288e.pdf
Size:
2.94 MB
Format:
Adobe Portable Document Format
Description:
fulltext
License bundle
Now showing 1 - 1 of 1
Loading...
Thumbnail Image
Name:
license.txt
Size:
115 B
Format:
Plain Text
Description:
Collections