• English
    • ไทย
  • English 
    • English
    • ไทย
  • Login
View Item 
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
  •   Wisdom Repository Home
  • คณะและวิทยาลัย
  • คณะรัฐประศาสนศาสตร์
  • GSPA: Theses
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Browse

All of Wisdom RepositoryCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource TypesThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsBy Submit DateResource Types

My Account

Login

การประยุกต์วิชาการของผู้สำเร็จการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์

by เสรี เจริญศิริ

Title:

การประยุกต์วิชาการของผู้สำเร็จการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์

Author(s):

เสรี เจริญศิริ

Advisor:

ฑิตยา สุวรรณะชฎ, 2474-, อาจารย์ที่ปรึกษา

Degree name:

พัฒนบริหารศาสตรมหาบัณฑิต

Degree level:

ปริญญาโท

Degree discipline:

รัฐประศาสนศาสตร์

Degree department:

คณะรัฐประศาสนศาสตร์

Degree grantor:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Issued date:

1971

Publisher:

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Abstract:

ผู้เขียนวิทยานิพนธ์มุ่งศึกษาผู้สำเร็จการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498-2509 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบว่า ผู้สำเร็จการศึกษาในด้านนี้มีความซาบซึ้งต่อวิชาการเพียงใด มีความขัดข้องใจ หรือมีโอกาสได้ประยุกต์วิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ในการปฏิบัติงานในชีวิตจริงเพียงใด มีอะไรที่เป็นปัญหาและข้อจำกัดในการประยุกต์วิชาการ และถ้าผู้ที่สำเร็จการศึกษาอยู่ในสภาพที่ไม่อาจประยุกต์วิชาการได้นั้น เขามีความยุ่งยากเพียงไร.
จากผลการศึกษาผู้เขียนสรุปไว้ดังนี้คือ
1. ผู้สำเร็จการศึกษาพึงพอใจต่อหน่วยงานเดิมก่อนเข้าศึกษานั้น ยอมรับและซาบซึ้งในทฤษฎีและวิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์มากกว่า.
2. ผู้สำเร็จการศึกษาส่วนใหญ่มีความข้องคับใจต่อวงการบริหารของไทยอยู่มาก
3. ผู้สำเร็จการศึกษามีโอกาสและได้ประยุกต์วิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์มากและผู้ที่มีโอกาสได้ศึกษาเพิ่มเติมทั้งภายในและต่างประเทศมีโอกาสและได้ประยุกต์วิชาการทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้มากกว่า.
4. ผู้ที่ไม่สามารถประยุกต์วิชาการได้นั้นไม่ได้แสดงความข้องคับใจออกมาเด่นชัด
5. ในการปฏิบัติงานส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อปริมาณความรับผิดชอบที่มีปริมาณมากแม้ประโยชน์ตอบแทนความรับผิดชอบนั้นจะน้อยก็ตาม
6. ในด้านการบังคับบัญชา ผู้สำเร็จการศึกษามีแนวโน้มเอียงรู้สึกชอบผู้บังคับบัญชาแบบอัตตาธิปไตยมากกว่า.

Description:

วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2514.

Subject(s):

รัฐประศาสนศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน

Keyword(s):

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Resource type:

วิทยานิพนธ์

Extent:

131 หน้า.

Type:

Text

File type:

application/pdf

Language:

tha

Rights:

ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)

URI:

http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1057
Show full item record

Files in this item (CONTENT)

Thumbnail
View
  • nida-ths-b10543.pdf ( 2,567.91 KB )

ทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดในคลังปัญญา ใช้เพื่อประโยชน์ทางการเรียนการสอนและการค้นคว้าเท่านั้น และต้องมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทุกครั้งที่นำไปใช้ ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และทำสำเนาต่อ รวมถึงไม่ให้อนุญาตนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการค้า ไม่ว่ากรณีใด ๆ ทั้งสิ้น



This item appears in the following Collection(s)

  • GSPA: Theses [297]

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

Except where otherwise noted, content on this site is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International license.

Copyright © National Institute of Development Administration | สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Library and Information Center | สำนักบรรณสารการพัฒนา
Email: NIDAWR@nida.ac.th    Chat: Facebook Messenger    Facebook: NIDAWisdomRepository
 

 

‹›×