บทบาทของศึกษานิเทศก์ในทัศนะของครูที่ได้รับการนิเทศ
Publisher
Issued Date
1969
Issued Date (B.E.)
2512
Available Date
Copyright Date
Resource Type
Series
Edition
Language
tha
File Type
application/pdf
No. of Pages/File Size
176 แผ่น
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Other identifier(s)
Identifier(s)
Access Rights
Access Status
Rights
ผลงานนี้เผยแพร่ภายใต้ สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 4.0 (CC BY-NC-ND 4.0)
Rights Holder(s)
Physical Location
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. สำนักบรรณสารการพัฒนา
Bibliographic Citation
Citation
ศักดิ์สุบรรณ ลังกาพินธุ์ (1969). บทบาทของศึกษานิเทศก์ในทัศนะของครูที่ได้รับการนิเทศ. Retrieved from: http://repository.nida.ac.th/handle/662723737/1146.
Title
บทบาทของศึกษานิเทศก์ในทัศนะของครูที่ได้รับการนิเทศ
Alternative Title(s)
Author(s)
Advisor(s)
Editor(s)
item.page.dc.contrubutor.advisor
Advisor's email
Contributor(s)
Contributor(s)
Abstract
การนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนหรือบุคคลที่ดำรงตำแหน่งสองตำแหน่งโดยฝ่ายหนึ่งเป็นตัวการที่จะเข้าไปทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสภาพการทำงาน ฝ่ายที่มีหน้าที่เข้าไปเป็นตัวการทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้คือศึกษานิเทศก์ วัตถุประสงค์ในการศึกษาเรื่องนี้เพื่อพิจารณาพฤติกรรมของศึกษานิเทศก์ในลักษณะที่เกี่ยวข้องกับการทำงานช่วยเหลือครู ทั้งนี้เพื่อทราบว่า ศึกษานิเทศก์ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมของครูในเรื่องการสอนได้ดีเพียงไร นอกจากนี้ การศึกษายังมุ่งเพื่อตอบปัญหาว่ามีวิธีใดบ้างที่จะมีประสิทธิภาพกว่า หรือที่จะสามารถช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ให้ดีขึ้น
ส่วนขอบเขตการศึกษานั้นมุ่งศึกษาเฉพาะพฤติกรรมของศึกษานิเทศก์ในขณะปฏิบัติการนิเทศก์การศึกษา ในทัศนะของครูที่ถูกทำการนิเทศก์ว่า ทัศนะของครูเหล่านี้มองศึกษานิเทศก์ในลักษณะใด เหมือนกับที่ครูคาดหวังไว้หรือไม่ รวมทั้งพิจารณาดูว่าพฤติกรรมของศึกษานิเทศก์ในทัศนะของครูนั้นคล้ายกับพฤติกรรมตามอุดมคติของศึกษานิเทศก์เพียงใด ผู้เขียนเจาะจงศึกษาวิจัยเฉพาะครูในโรงเรียนโครงการทดลองปรับปรุง 4 โรงเรียน คือโรงเรียนวัดร่างบัว (โรงเรียนชายธนบุรี) โรงเรียนวัดสุวรรณาราม (โรงเรียนสหศึกษาธนบุรี) โรงเรียนบางกะปิ (โรงเรียนสหศึกษาชานพระนคร) และโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย (โรงเรียนสตรีกลางพระนคร) ด้วยเหตุผลที่ว่าโรงเรียนทั้ง 4 เป็นโรงเรียนที่อยู่ภายใต้ความร่วมมือของศึกษานิเทศก์อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการ ครูและศึกษานิเทศก์มีโอกาสเกี่ยวข้องกันในลักษณะเผชิญหน้า.
ส่วนขอบเขตการศึกษานั้นมุ่งศึกษาเฉพาะพฤติกรรมของศึกษานิเทศก์ในขณะปฏิบัติการนิเทศก์การศึกษา ในทัศนะของครูที่ถูกทำการนิเทศก์ว่า ทัศนะของครูเหล่านี้มองศึกษานิเทศก์ในลักษณะใด เหมือนกับที่ครูคาดหวังไว้หรือไม่ รวมทั้งพิจารณาดูว่าพฤติกรรมของศึกษานิเทศก์ในทัศนะของครูนั้นคล้ายกับพฤติกรรมตามอุดมคติของศึกษานิเทศก์เพียงใด ผู้เขียนเจาะจงศึกษาวิจัยเฉพาะครูในโรงเรียนโครงการทดลองปรับปรุง 4 โรงเรียน คือโรงเรียนวัดร่างบัว (โรงเรียนชายธนบุรี) โรงเรียนวัดสุวรรณาราม (โรงเรียนสหศึกษาธนบุรี) โรงเรียนบางกะปิ (โรงเรียนสหศึกษาชานพระนคร) และโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย (โรงเรียนสตรีกลางพระนคร) ด้วยเหตุผลที่ว่าโรงเรียนทั้ง 4 เป็นโรงเรียนที่อยู่ภายใต้ความร่วมมือของศึกษานิเทศก์อย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านวิชาการ ครูและศึกษานิเทศก์มีโอกาสเกี่ยวข้องกันในลักษณะเผชิญหน้า.
Table of contents
Description
วิทยานิพนธ์ (พบ.ม. (รัฐประศาสนศาสตร์))--สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2512.